ความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ทางสุขภาพกับการชะลอการเสื่อมของไตในผู้ป่วยไตเรื้อรัง ที่มีโรคร่วมเป็นความดันโลหิตสูงหรือเบาหวาน อำเภองาว จังหวัดลำปาง
คำสำคัญ:
โรคไตเรื้อรัง, ความรอบรู้ด้านสุขภาพ, การชะลอการเสื่อมของไตบทคัดย่อ
งานวิจัยแบบการศึกษาเชิงพรรณนาแบบตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินระดับและศึกษาระดับความรอบรู้ทางสุขภาพ และ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ทางสุขภาพและชะลอการเสื่อมของไตในผู้ป่วยไตเรื้อรังที่มีโรคร่วมเป็นความดันโลหิตสูงหรือเบาหวาน อำเภองาว จังหวัดลำปาง โดยสุ่มกลุ่มตัวอย่างแบบชั้นภูมิ (Stratified random sampling) ได้จำนวน 147 คน แบ่งตามเขตรับผิดชอบโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบล ใน อ.งาว จ.ลำปาง โดยใช้เครื่องมือวัดระดับความรู้แจ้งแตกฉาน สำหรับผู้ป่วยเบาหวาน ความดันโลหิตสูง กองสุขศึกษา ปี 2558 และแบบบันทึกค่าอัตราการกรองของไต วิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงพรรณนาและสถิติไค-สแควร์ (Chi-square tests )
ผลการวิจัยพบว่า 1) ผู้ป่วยส่วนใหญ่เป็นผู้มีความรอบรู้ด้านสุขภาพในระดับต่ำ จำนวน 69 คน (ร้อยละ 46.90) ระดับปานกลาง จำนวน 54 คน (ร้อยละ 36.70) และระดับสูง จำนวน 24 คน คิดเป็นร้อยละ 16.30 2) การชะลอการเสื่อมของไตพิจารณาจากอัตราการกรองของไต พบว่า ค่าเฉลี่ยของอัตราการกรองของไต ปี 2563 และ 2564 ลดลงเฉลี่ย 3.48 มล./นาที/1.73ตร.ม./ปี และ 3) ระดับของความรอบรู้ด้านสุขภาพในผู้ป่วยไตเรื้อรังที่มีโรคร่วมเป็นความดันโลหิตสูงหรือเบาหวาน มีความสัมพันธ์กับการชะลอการเสื่อมของไต(eGFR <5มล./นาที/1.73ตร.ม./ปี) ได้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
References
Boonstra, M. D., Reijneveld, S. A., Foitzik, E. M., Westerhuis, R., Navis, G., & de Winter, A. F. (2020). How to tackle health literacy problems in chronic kidney disease patients? A systematic review to identify promising intervention targets and strategies. Nephrology Dialysis Transplantation, 36(7), 1207-1221. https://doi.org/10.1093/ndt/gfaa273
Costa-Requena, G., Moreso, F., Carmen Cantarell, M., & Serón, D. (2017). Health literacy and chronic kidney disease [10.1016/j.nefroe.2017.04.009]. Nefrología (English Edition), 37(2), 115-117. https://doi.org/10.1016/j.nefroe.2017.04.009
Devraj, R., Borrego, M., Vilay, A. M., Gordon, E. J., Pailden, J., & Horowitz, B. (2015). Relationship between Health Literacy and Kidney Function. Nephrology (Carlton), 20(5), 360-367. https://doi.org/10.1111/nep.12425
Dewalt, D. A., Berkman, N. D., Sheridan, S., Lohr, K. N., & Pignone, M. P. (2004). Literacy and health outcomes: a systematic review of the literature. J Gen Intern Med, 19(12), 1228-1239. https://doi.org/10.1111/j.1525-1497.2004.40153.x
Go, A. S., Yang, J., Tan, T. C., Cabrera, C. S., Stefansson, B. V., Greasley, P. J., Ordonez, J. D., & Kaiser Permanente Northern California, C. K. D. O. S. (2018). Contemporary rates and predictors of fast progression of chronic kidney disease in adults with and without diabetes mellitus. BMC nephrology, 19(1), 146-146. https://doi.org/10.1186/s12882-018-0942-1
Hill, N. R., Fatoba, S. T., Oke, J. L., Hirst, J. A., O'Callaghan, C. A., Lasserson, D. S., & Hobbs, F. D. R. (2016). Global Prevalence of Chronic Kidney Disease - A Systematic Review and Meta-Analysis. PloS one, 11(7), e0158765-e0158765. https://doi.org/10.1371/journal.pone.0158765
Ingsathit, A., Thakkinstian, A., Chaiprasert, A., Sangthawan, P., Gojaseni, P., Kiattisunthorn, K., Ongaiyooth, L., Vanavanan, S., Sirivongs, D., Thirakhupt, P., Mittal, B., & Singh, A. K. (2010). Prevalence and risk factors of chronic kidney disease in the Thai adult population: Thai SEEK study. Nephrol Dial Transplant, 25(5), 1567-1575. https://doi.org/10.1093/ndt/gfp669
Ishikura, K., Obara, T., Kikuya, M., Satoh, M., Hosaka, M., Metoki, H., Nishigori, H., Mano, N., Nakayama, M., Imai, Y., Ohkubo, T., & on behalf of the, J. H.-M. S. g. (2016). Home blood pressure level and decline in renal function among treated hypertensive patients: the J-HOME-Morning Study. Hypertension Research, 39(2), 107-112. https://doi.org/10.1038/hr.2015.110
Jamshidi, P., Najafi, F., Mostafaei, S., Shakiba, E., Pasdar, Y., Hamzeh, B., & Moradinazar, M. (2020). Investigating associated factors with glomerular filtration rate: structural equation modeling. BMC nephrology, 21(1), 30. https://doi.org/10.1186/s12882-020-1686-2
Kanjanabuch, T., & Takkavatakarn, K. (2020). Global Dialysis Perspective: Thailand. Kidney360, 1(7), 671-675. https://doi.org/10.34067/kid.0000762020
Polonia, J., Azevedo, A., Monte, M., Silva, J. A., & Bertoquini, S. (2017). Annual deterioration of renal function in hypertensive patients with and without diabetes. Vascular health and risk management, 13, 231-237. https://doi.org/10.2147/VHRM.S135253
Ricardo, A. C., Yang, W., Lora, C. M., Gordon, E. J., Diamantidis, C. J., Ford, V., Kusek, J. W., Lopez, A., Lustigova, E., Nessel, L., Rosas, S. E., Steigerwalt, S., Theurer, J., Zhang, X., Fischer, M. J., & Lash, J. P. (2014). Limited health literacy is associated with low glomerular filtration in the Chronic Renal Insufficiency Cohort (CRIC) study. Clin Nephrol, 81(1), 30-37. https://doi.org/10.5414/cn108062
Sabanayagam, C., Shankar, A., Lim, S. C., Tai, E. S., & Wong, T. Y. (2011). Hypertension, Hypertension Control, and Chronic Kidney Disease in a Malay Population in Singapore. Asia Pacific Journal of Public Health, 23(6), 936-945. http://www.jstor.org/stable/26724181
Tanasugarn, C., & Neelapaichit, N. (2015). Development tools Health literacy in patients with diabetes & hypertension (D. o. H. S. Support, Ed.). Ministry of Public Health.
Taylor, D. M., Fraser, S., Dudley, C., Oniscu, G. C., Tomson, C., Ravanan, R., & Roderick, P. (2018). Health literacy and patient outcomes in chronic kidney disease: a systematic review. Nephrol Dial Transplant, 33(9), 1545-1558. https://doi.org/10.1093/ndt/gfx293
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารวารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือก่อนเท่านั้น
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
อนึ่ง ข้อความและข้อคิดเห็นต่างๆ เป็นของผู้เขียนบทความนั้นๆ ไม่ถือเป็นความเห็นของวารสารฯ และวารสารฯ ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับข้อความและข้อคิดเห็นใดๆ ของผู้เขียน วารสารฯ ขอสงวนสิทธิ์ในการพิจารณาตีพิมพ์ตามความเหมาะสม รวมทั้งการตรวจทานแก้ไขหรือขัดเกลาภาษาให้ถูกต้องตามเกณฑ์ที่กำหนด