ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการออกกำลังกายของผู้สูงอายุ ตำบลลำปางหลวง ในจังหวัดลำปาง
คำสำคัญ:
ปัจจัย , พฤติกรรมการออกกำลังกาย , ผู้สูงอายุบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนา เพื่อศึกษา ปัจจัยที่มีผลต่อการออกกำลังกายของผู้สูงอายุตำบลลำปางหลวง กลุ่มตัวอย่างนำใช้ในการศึกษา จำนวน 255 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล คือ ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย สถิติไคสแควร์ (chi-Square) และ สถิติสัมประสิทธิ์สหพันธ์ แบบเพียร์สัน (Pearson’s Product Moment Correlation Coefficient)
ผลการวิจัย พบว่า เพศหญิง มีพฤติกรรมการออกกำลังกายที่ถูกต้องมากกว่า เพศชาย และอายุ มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรม โดยผู้สูงอายุ ที่อายุ 60-69 ปี มีพฤติกรรมการออกกำลังกายมากกว่ากลุ่มอื่น ปัจจัยนำ ได้แก่ เพศและอายุ มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการออกกำลังกายของผู้สูงอายุ ปัจจัยเอื้อ ได้แก่ สถานที่ออกกำลังบุคลากรเกี่ยวกับการออกกำลังกาย ไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการออกกำลังกายของผู้สูงอายุ ปัจจัยเสริม ได้แก่ การได้รับการสนับสนุนจากครอบครัว/เพื่อน/ชุมชน ไม่มีความสัมพันธ์กับพฤติกรรมการออกกำลังกายของผู้สูงอายุ
References
Bangkok Community Health Research Center. (2018).Exercise in the Eldely:
, Retrieved from :https:// www bangkokhealth.com/health/article (2021,10,May)
Bloom BS. (1971). Hand book on formation and summative evaluation of student learning. New York: MeGraw-Hill Book Company.
Foundation of Thai gerontology research and development institute (Tgri). (2014). Situation of the Thai elderly 2013: Retrieved from : http//www thaigri.org (2021,15, April)
Foundation of Thai gerontology research and development institute (Tgri). (2016). Situation of the Thai elderly 2014: Retrieved from : http//www thaigri.org (2021,15, April)
Foundation of Thai gerontology research and development institute (Tgri). (2017). SituatIon of the Thai elderly 2016: Nakhonpathom: Printery. (in Thai).
Green, L.W. and M.W. Kreuter. (1991). Health promotion planning: An educational and environmental approach. Second Edition. Mayfield Publishing Company, Toronto.
Lampangluang public health center. (2018).Elderly people in home-bound and bed bound
group registration. (in Thai)
Mayer,A. et al.(2019). Knowledge and attitudes about exercise among ethnic people
living in Mae Salong Nok District Mae Fah Luang District Chiang Rai Province. Chiang Rai: Chiang Rai Rajabhat University ( in Thai)
Ministry of public health. (2018).Lampang Health data center.(online), Available:
http://hdc service.moph.go.th (2018,5, August)
Office of the National Economic and Social Delvelopment Council. (2019).Report of the population projections for Thailand 2010-2040(Revision).Bangkok.Amarin Printing & Publishing Public Co.,Ltd.
Sangdaow,T. (2011). Motivation to Exercise at Clark Hatch Fitness Center in Nonthaburi Province Area in 2010. Master thesis, M.Ed. (Physical Education). Bangkok: Graduate School, Srinakharinwirot University. ( in Thai)
Sangwornkarn, T.,Jumderm,A.(2017).Motivation to Exercise of people in Chumphon Province.
Chumphon: Institute of Physical Education Chumphon.( in Thai)
Saravitee,N. (2017).Causal Model of exercise behaviors of eldery based on theory of planned behavior. (thesis of master of science) : Chonburi Burapha University. (in Thai)
Srisa-ard, B. (2003). Development of curriculum and curriculum research. Bangkok: Suweeriyasarn. (in Thai)
Vanichbancha, K. (2011). Statistics Analysis: Statistics for Administration and research. (13th ed). Bangkok: Chulalongkorn University Printing House.
Yamane, Taro. (1973). Statistics: An Introductory Analysis Third edition. New York: Harper and Row Publication.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2021 วารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารวารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือก่อนเท่านั้น
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
อนึ่ง ข้อความและข้อคิดเห็นต่างๆ เป็นของผู้เขียนบทความนั้นๆ ไม่ถือเป็นความเห็นของวารสารฯ และวารสารฯ ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับข้อความและข้อคิดเห็นใดๆ ของผู้เขียน วารสารฯ ขอสงวนสิทธิ์ในการพิจารณาตีพิมพ์ตามความเหมาะสม รวมทั้งการตรวจทานแก้ไขหรือขัดเกลาภาษาให้ถูกต้องตามเกณฑ์ที่กำหนด