ผลของการ์ดสีนำทางต่อระยะเวลารอคอยการรับบริการและ ความพึงพอใจของผู้รับบริการผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลงาว จังหวัดลำปาง
คำสำคัญ:
การ์ดสีนำทาง, ระยะเวลารอคอย, ความพึงพอใจบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง เพื่อศึกษาผลของการพัฒนาระบบบริการผู้ป่วยนอกโดยใช้การ์ดสีนำทางโดยลดระยะเวลารอคอยการรับบริการในผู้ป่วยในงานผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลงาว จังหวัดลำปาง และความพึงพอใจต่อบริการที่ได้รับ รวมทั้งเพื่อนำเสนอแนวทางการให้บริการงานผู้ป่วยนอกที่มีประสิทธิภาพ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยที่มารับบริการในงานผู้ป่วยนอกในโรงพยาบาลงาว จำนวน 740 คน เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วยแนวทางการดำเนินงานเพื่อลดระยะเวลารอคอยด้วยการใช้การ์ดสีนำทาง แบบบันทึกข้อมูลทั่วไป แบบบันทึกระยะเวลารอคอยการรับบริการ แบบสอบถามความพึงพอใจต่อบริการที่ได้รับ เก็บรวบรวมข้อมูลตั้งแต่วันที่ 1 กันยายน – 31 ตุลาคม พ.ศ. 2560 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ independent t-test
ผลการวิจัย พบว่า 1) ระยะเวลารอคอยการรับบริการหลังการทดลองน้อยกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ 2) ความพึงพอใจต่อบริการที่ได้รับสูงกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ 0.05
ข้อเสนอแนะ ควรนำรูปแบบการบริการที่ประยุกต์จากทฤษฎีของลีนมาใช้ในงานผู้ป่วยนอกในสถานบริการสุขภาพอื่นๆ เพื่อลดระยะเวลารอคอยและเพิ่มความพึงพอใจของผู้ป่วยมากขึ้น
References
ของผู้ใช้บริการที่มีต่อการให้บริการของหน่วยเอกซเรย์คอมพิวเตอร์โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า.
วารสารพยาบาลทหารบก, 16(2), 30-32.
กระทรวงสาธารณสุข. (2561).ข้อมูลการใช้บริการสาธารณสุข เขตสุขภาพที่ 1-12. ค้นเมื่อ 3 มีนาคม 2560
จาก https://hdcservice.moph.go.th/hdc/reports/report.php.
คัทลิยา วสุธาดา.(2560). การพัฒนารูปแบบการดำเนินงานเพื่อลดระยะเวลารอคอยการรับบริการในผู้ป่วย
โรคเรื้อรังศูนย์สุขภาพชุมชนเมืองท่าช้าง จังหวัดจันทบุรี. วารสารวิทยาลัยพยาบาลพระปกเกล้า จันทบุรี. 28(1),80-89.
ดวงกมล สายเทพ, พนิดา ดามาพงศ์. (2550). ผลของการใช้โปรแกรมการจัดบริการตามมาตรฐานการพยาบาลผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลเมืองสมุทรปู่เจ้าสมิงพราย. วารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร. 1(2),76-91.
นิสา ภู่อาภรณ์. (2550). พฤติกรรมและความพึงพอใจของผู้ใช้บริการที่มีต่อโรงพยาบาลอ่างทอง
วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต. สาขาการจัดการทั่วไป บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏ
พระนครศรีอยุธยา.
ปภัชญา หนูสลุง และ คณะ. (2559). ผลของการใช้แนวคิดแบบลีนในการศึกษาระยะเวลาที่มารับบริการของหน่วยตรวจบริการการล้างไตทางช่องท้อง หอผู้ป่วยโรคไตสง่า นิลวรางกูร โรงพยาบาลศิริราช. วารสารเกื้อการุณย์. 23(2), 104-119.
พรประภา สุดประเสริฐ, ณักษ์ กุลิสร. 2557. ความพึงพอใจและแนวโน้มการใช้บริการของผู้ใช้บริการแผนกผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลอาภากรเกียรติวงศ์ ฐานทัพเรือสัตหีบ. ค้นเมื่อ 4 มีนาคม 2560 จากhttp:// http://journal.aru.ac.th.
ยุพิน อภิสิทธิ์วงศ์, (2555). ประสิทธิผลของการใช้กระบวนการลีนในการลดชั้นตอนการกำหนดการผ่าตัดฉุกเฉินในเวลาราชการ: กรณีศึกษาในโรงพยาบาลสงขลา.วิสัญญีสาร.38(2), 133-136.
วิทยา สุหฤทดำรง, (2547). ยุพา กลอนกลาง.แนวคิดแบบลีน. กรุงเทพมหานคร: สแควร์พับลิซซิ่ง.
วิภาวี ชาดิษฐ์. 2559.ความพึงพอใจของผู้มารับบริการต่อคุณภาพบริการแผนกจ่ายยาผู้ป่วยนอกโรงพยาบาลเจ้าพระยายมราช จังหวดสุพรรณบุรี. ค้นเมื่อ 4 มีนาคม 2560 จาก http://ithesis-ir.su.ac.th.
แสงระวี เทพรอด และคณะ. (2556).การพัฒนาประสิทธิภาพการให้บริการผู้ป่วยนอก โรงพยาบาล
คลองหลวง จังหวัดปทุมธานี.การประชุมวิชาการประจำปีสังคมศาสตร์ มนุษยศาสตร์ และศึกษาศาสตร์ ประจำปี พ.ศ. 2556.
สำนักการพยาบาล. (2554). การประกันคุณภาพการพยาบาล: การประเมินคุณภาพการบริการพยาบาลผู้ป่วยนอก. กรุงเทพ: บริษัทสามเจริญพาณิชย์(กรุงเทพ)จำกัด.
อารีย์วรรณ อ่วมตานี. (2552). การจัดการแบบลีนกับการบริการสุขภาพ. วารสารสภาการพยาบาล. ปีที่ 24 (2), 6.
Dansky, K. H., & Miles, J. (1997). Patient satisfaction with ambulatory healthcare services:
Waiting time and filling time. Hospital & Health Services Administration,42(2),165-177.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารวารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือก่อนเท่านั้น
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
อนึ่ง ข้อความและข้อคิดเห็นต่างๆ เป็นของผู้เขียนบทความนั้นๆ ไม่ถือเป็นความเห็นของวารสารฯ และวารสารฯ ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับข้อความและข้อคิดเห็นใดๆ ของผู้เขียน วารสารฯ ขอสงวนสิทธิ์ในการพิจารณาตีพิมพ์ตามความเหมาะสม รวมทั้งการตรวจทานแก้ไขหรือขัดเกลาภาษาให้ถูกต้องตามเกณฑ์ที่กำหนด