Factors associated with stunting in ethnic children aged 0-5 years and synthesis of district health system guidelines for stunting growth management in Hod District, Chiang Mai Province
Keywords:
Stunting, Ethnic children, District Health SystemAbstract
The purpose of this study was to examine the causes of stunting and compile recommendations for the district health system to address stunting among ethnic children aged 0–5 years in Hot District, Chiang Mai Province. The study was conducted in two phases. In Phase 1, factors contributing to stunting among 261 ethnic children were investigated. Data were collected using questionnaires and analyzed using two-group logistic regression. In Phase 2, district health system guidelines were developed based on input from seven stakeholders. Data were gathered through in-depth interviews guided by the Six Building Blocks framework, and content analysis was employed for interpretation. The findings revealed that children who consumed only 1–2 boxes or glasses of milk per day had a 4.875- and 2.785-fold higher risk of stunting, respectively, compared to children who consumed 5–6 boxes or glasses daily (p-values = 0.05 and 0.03). Children fed a diet of rice and vegetables were 2.159 times more likely to experience stunting compared to those whose diets included rice, vegetables, and meat (p-value = 0.02). Additionally, children who slept only 6–8 hours per night had a 2.967 times higher likelihood of stunting compared to those who slept more than 10 hours per night (p-value = 0.03). Based on these findings, guidelines for the district health system were developed. Recommendations included clearly defining stakeholders’ roles and responsibilities, such as educating health workers, using the information and technology system to assess children's nutritional status, and strengthening service systems to reduce stunting among ethnic children. Local administrative organizations were encouraged to support health-related expenses, communicate effectively via online media, and implement and manage systems with an emphasis on providing proper models for raising ethnic children.
References
World Bank Group, UNICEF and World Health Organization. Levels and trends in child malnutrition: UNICEF / WHO / The World Bank Group joint child malnutrition estimates: key findings of the 2021 edition. Geneva: World Health Organization; 2021
UNICEF. The state of food security and nutrition in the world 2022. [Internet]. [cited 2022 December 18] Available from: https://data.unicef.org/resources/sofi-2022/
สำนักโภชนาการ กรมอนามัย. รายงานประจำปี 2565 เฝ้าระวังทางโภชนาการ [อินเตอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 25 ธันวาคม 2565]. แหล่งข้อมูล:https://nutrition2.anamai.moph.go.th/web-upload/6x22caac0452648c8dd1f534819ba2f16c/202303/m_magazine/37955/4261/file_download/13affb4dde0d884d8536cb0096eecca9.pdf
DOH Dashboard กรมอนามัย. ร้อยละของเด็กอายุ 0-5 ปี มีภาวะเตี้ย [อินเตอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 25 ธันวาคม 2565] แหล่งข้อมูล:http://dashboard.anamai.moph.go.th/dashboard/low05/tambon?year=2022&ap=5016
โรงพยาบาลเด็กสินแพทย์. ภาวะตัวเตี้ยในเด็ก[อินเตอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 25 ธันวาคม 2564] Available from: https://www.synphaet.co.th/children-ramintra/ภาวะตัวเตี้ยในเด็ก
World Health Organization. Exclusive breastfeeding for six months best for babies everywhere [Internet]. [cited 2022 December 18]. Available from: https://www.who.int/news/item/15-01-2011-exclusive-breastfeeding-for-six-months-best-for-babies-everywhere
Xionglvanag L, เบญจา มุกตพันธุ์. ภาวะเตี้ยและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะเตี้ยในเด็กอายุต่ำกว่า 5 ปี ในเมืองเวียงทอง แขวงบอลิค่าไซ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2563;13(4):59-69.
ปิยะ ปุริโส, พรพิมล ชูพานิช. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเจริญเติบโตและภาวะโภชนาการของเด็กวัยก่อนเรียน อายุ 2-5 ปี ในเขตสุขภาพที่ 7 ประเทศไทย. วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2563;13(2):65-76.
Gebre A, Kahssay M, Mulugeta A, Reddy P, Sedik Y. Prevalence of malnutrition and associated factors among under-five children in pastoral communities of Afar RegionalState, Northeast Ethiopia: A community-based cross-sectional study. Journal of Nutrition and Metabolism 2019;1-13.
วราภรณ์ จิตอารี. การศึกษาภาวะการเจริญเติบโตของเด็กแรกเกิด–6 เดือน กรณีศึกษา เด็กอายุแรกเกิด–6 เดือน จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดเลย และจังหวัดสตูล[อินเตอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 25 ธันวาคม 2565] แหล่งข้อมูล: https://nutrition2.anamai.moph.go.th/th/download-06/download?id=90535&mid=32009&mkey=m_document&lang=th&did=22643
อาซูรา รีเด็ง, จีราพัชร์ พลอยนิลเพชร, กัลยา ตันสกุล. ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ของเด็กแรกเกิด– 5 ปี ในอำเภอบาเจาะ จังหวัดนราธิวาส. การประชุมหาดใหญ่วิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 10. 2560; 1558-73.
ศักรินทร์ สุวรรณเวหา, อมาวสี อัมพันศิริรัตน์, วิภารัตน์ สุวรรณไวพัฒนะ. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะโภชนาการของเด็กวัยก่อนเรียน: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา 2562;25(2):8-24.
ปวิตรา ไพทอง. ภาวะโภชนาการกับการเกิดโรคติดเชื้อในระบบทางเดินหายใจส่วนบนเฉียบพลันในเด็กก่อนวัยเรียน ชาวไทยภูเขาเผ่าม้ง ตำบลแม่แรม อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่. วารสารสาธารณสุขล้านนา 2562;15(1):14-25.
ศูนย์มานุษยวิทยาสิรินธร. กลุ่มชาติพันธุ์ในประเทศไทย [อินเตอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 25 ธันวาคม 2565] แหล่งข้อมูล: https://ethnicity.sac.or.th/database-ethnic
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ. เสริมคุณค่าปฐมภูมิด้วยระบบสุขภาพระดับอำเภอ (รสอ.) [อินเตอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 25 ธันวาคม 2565] แหล่งข้อมูล: https://dol.thaihealth.or.th/resourcecenter/sites/default/files/documents/05esrimkhunkhaapthmphuumidwyrabbsukhphaaphrada.pdf
เดชา แซ่หลี, บังอร เทพเทียน, สุพัตรา ศรีวณิชชากร. การจัดการระบบสุขภาพระดับอำเภอเพื่อการพัฒนาคุณภาพของระบบบริการอนามัยแม่และเด็ก ของอำเภอกะพ้อ จังหวัดปัตตานี ประเทศไทย. วารสารวิจัยคณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2558;8(1):39-48.
กิ่งกาญจน์ ดวงแค. การพัฒนาแนวทางการดูแลการเจริญเติบโตของเด็กในศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก สังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น อำเภอพร้าว จังหวัดเชียงใหม่. [วิทยานิพนธ์ปริญญาสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต สาขาสาธารณสุขศาสตร์]. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่; 2563.
วัลลีย์ คุณยศยิ่ง, พูลศักดิ์ ฉัตรชัยเจนกุล, วรวิทย์ ตันติวัฒนทรัพย์, ปฏิญญา ศรีใส, นี ผุดผ่อง, นิธิวัชร์ แสงเรือง และคณะ. ผลการแก้ไขปัญหาภาวะทุพโภชนาการในเด็กก่อนวัยเรียนโดยการให้นมกล่อง เสริม:กรณีศึกษาพื้นที่อาเภออุ้มผางจังหวัดตาก. วารสารความเป็นธรรมทางสังคมและความเหลื่อมล้ำ 2564;2(1):17-29.
ชลธิดา เณรบำรุง. การศึกษาคุณสมบัติของนมวัว และความสัมพันธ์ระหว่างการดื่มนมที่มีผลต่อสุขภาพกาย จากฐานข้อมูลออนไลน์ที่มีมาตรฐานรับรองระหว่างปี 2000 ถึงมกราคม 2019 . [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิทยาการชะลอวัยและฟื้นฟูสุขภาพ]. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์; 2562.
Berhe A, BerheI K, Etsay N, Gebremariam Y, Seid O. Risk factors of stunting (chronic undernutrition) of children aged 6 to 24 months in Mekelle City, Tigray Region, North Ethiopia: An unmatched case-control study. Research Article, 2019;14(6):1-11.
Zaffanello M, Pietrobelli A, Cavarzere P, Guzzo A, Antoniazzi F. Complex relationship between growth hormone and sleep in children: insights, discrepancies, and implications. Front Endocrinol (Lausanne) 2024;14(1332114):1-9.
Chinenye S. Growth hormone: Its physiology, plethora of uses and misuse. West African Journal of Medicine, 2022;39(8):775-6.
El Halal CDS, Nunes ML. Sleep and weight-height development. Jornal de pediatria, 2019; 95(S1): S2-S9.
สำนักโภชนาการ กรมอนามัย. รู้เท่าทันน้ำหนัก-ส่วนสูง แนวทางการประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ จากโครงการพัฒนาแหล่งน้ำ : ด้านโภชนาการ. [อินเตอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 25 ธันวาคม 2565] แหล่งข้อมูล: https://nutrition2.anamai.moph.go.th/web-upload/6x22caac0452648c8dd1f534819ba2f16c/202011/m_news/9419/194026/file_download/6708832584afd4624c82e96532a5094d.pdf
พงษ์ศักดิ์ ติยานันทิ, ลัดดา เหมาะสุวรรณ, สุปิยา เจริญศิริวัฒน์. Nutritional Status Calculator for Thai Children and Adolescents (NutStatCal). [อินเตอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 25 ธันวาคม 2565] แหล่งข้อมูล: https://nutstatcal.kiddiary.in.th/
อนาวิน ภัทรภาคินวรกุล. บทบาทนักสาธารณสุขในการส่งเสริมโภชนาการของเด็กวัยเรียน ในพื้นที่ห่างไกลและทุรกันดาร. วารสารสภาการสาธารณสุขชุมชน 2563:2(2);1-13.
มหาวิทยาลัยมหิดล. การจัดการความรู้ (Knowledge Management: KM). [อินเตอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 25 ธันวาคม 2565] แหล่งข้อมูล: https://quality.sc.mahidol.ac.th/plan_and_policy/km/
ดวงนภา ปงกา, ปวีณภัสสร์ คล้ำศิริ, สุปวีณา พละศักด์. (2565). ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะโภชนาการเด็กปฐมวัยไทย ในเขตสุขภาพที่ 6 ปี 2565. ศูนย์อนามัยที่ 6 ชลบุรี. กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข.
ชรินทร์ทิพย์ อะถาพัฒน์. พฤติกรรมการใช้สื่อสังคมออนไลน์ในชีวิตประจําวันของประชากรในกรุงเทพมหานคร. มหาวิยาลัยรามคำแหง/กรุงเทพฯ.[วิทยานิพนธ์ปริญญาบริหารธุรกิจบัณฑิต สาขาการบัญชี]. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง; 2562.
พรรณพิลาศ กุลดิลก. การพัฒนารูปแบบการสื่อสารเพื่อแก้ไขปัญหาทุพโภชนาการในเด็กยากจน กรณีศึกษาหมู่บ้านนายม จังหวัดชัยภูมิประเทศไทย. [วิทยานิพนธ์ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชานิเทศศาสตร์].ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา; 2564.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงใหม่. ข้อสั่งการและข้อเสนอแนะจากการตรวจราชการและนิเทศงานกรณีปกติ รอบที่ 1/2563 (จังหวัดเชียงใหม่) [อินเตอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 25 ธันวาคม 2565] แหล่งข้อมูล: https://www.chiangmaihealth.go.th/detail_article2.php?info_id=5813
หนึ่งหทัย ขอผลกลาง. แนวทางการส่งเสริมศักยภาพของสื่อท้องถิ่นเพื่อการสื่อสารสุขภาพในชนบทภาคเหนือ. วารสารวิจัยและพัฒนาด้านสุขภาพ สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา 2564;7(2):198-214.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
Copyright (c) 2024 วารสารการแพทย์และสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารการแพทย์และสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารการแพทย์และสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารการแพทย์และสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอกเพื่อการพัฒนางานด้านวิชาการ แต่ต้องได้รับการอ้างอิงที่ถูกต้องเหมาะสม