ผลการตรวจคัดกรองดาวน์ซินโดรมด้วยวิธี quadruple test ในหญิงตั้งครรภ์ โรงพยาบาลพิบูลมังสาหาร

ผู้แต่ง

  • ธัญรดา เดชอัมพร สูตินรีแพทย์ โรงพยาบาลพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี

คำสำคัญ:

หญิงตั้งครรภ์, ดาวน์ซินโดรม, การตรวจควอดเทส

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบประสิทธิภาพของวิธีตรวจคัดกรองภาวะดาวน์ซินโดรมในหญิงตั้งครรภ์ ด้วยวิธี quadruple test  โดยทำการตรวจคัดกรองในหญิงตั้งครรภ์ทุกรายที่เข้ารับบริการ ณ งานสูตินรีเวชกรรม โรงพยาบาลพิบูลมังสาหาร จังหวัดอุบลราชธานี ระหว่างเดือน มกราคม พ.ศ. 2563 ถึง ธันวาคม พ.ศ. 2565  จำนวน 1,116 คน พบว่าการตรวจคัดกรองดาวน์ซินโดรมด้วยวิธี quadruple test ในหญิงตั้งครรภ์มีค่าความไวของการทดสอบ (sensitivity) ร้อยละ 80.0 (95%CI 77.6-82.3) ค่าความจำเพาะของการทดสอบ (specificity) ร้อยละ 84.8 (95%CI 82.7-86.9) ค่าผลบวกปลอม (false-positive rate) ร้อยละ 15.1 (95%CI 13.0-17.3) ค่า negative predictive value test ร้อยละ 99.9 (95%CI 99.7-100.0) และค่าความถูกต้องของการทดสอบ (accuracy) ร้อยละ 84.5 (95%CI 82.6-66.9) แสดงให้เห็นว่าการตรวจคัดกรองดาวน์ซินโดรมด้วยวิธี quadruple test ในหญิงตั้งครรภ์มีประสิทธิภาพสูงและเป็นทางเลือกที่ดีสำหรับหน่วยบริการสุขภาพของประเทศไทย

References

พีระยุทธ สานุกูล. การตรวจคัดกรองทารกกลุ่มอาการดาวน์โดยวิธี Quadruple Marker Test. วารสารศูนย์อนามัยที่ 7 ขอนแก่น 2560;10(1):1-11.

กรมอนามัย กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือฝึกอบรมหลักสูตรการให้คำปรึกษาทางพันธุศาสตร์กลุ่มอาการดาวน์. นนทบุรี: สำนักงานองค์การพิมพ์กิจการทหารผ่านศึก; 2563.

กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข. คู่มือการตรวจทางห้องปฏิบัติการกลุ่มอาการดาวน์ในหญิงตั้งครรภ์. นนทบุรี: สถาบันชีววิทยาศาสตร์ทางการแพทย์ และ สถาบันวิจัยวิทยาศาสตร์สาธารณสุข; 2562.

จันทนา พัฒนเภสัช, อุษณา ตัณมุขยกุล, ยศ ตีระวัฒนานนท์. ต้นทุนผลได้ของการตรวจกรองและวินิจฉัยก่อนคลอดของกลุ่มอาการดาวน์ในประเทศไทย. วารสาร

วิชาการสาธารณสุข 2555;24(4):667-84.

Kaewsuksai P, Jitsurong S. Prospective study of the feasibility and effectiveness of a second-trimester quadruple test for Down syndrome in Thailand. Int J Gynaecol Obstet. 2017;139(2):217-21.

Chaipongpun N, Tongsong T, Wanapirak C, Sirichotiyakul S, Tongprasert F, Srisupundit K, et al. Performance of serum Quad test in screening for fetal Down syndrome in a large-scale unselected population in a developing country. Int. J. Public Health. 2022;68(April 2023):1-8

Pranpanus S, Kor-Anantakul O, Suntharasaj T, Suwanrath C, Hanprasertpong T, Pruksanusak N, et al. Ethnic-specific reference range affects the efficacy of quadruple test as a universal screening for Down syndrome in a developing country. PloS ONE.2021;16(5):e0251381.

Shaw SW, Lin SY, Lin CH, Su YN, Cheng PJ, Lee CN, et al. Second-trimester maternal serum quadruple test for Down syndrome screening: a Taiwanese population-based study. Taiwan J Obstet Gynecol. 2010;49(1):30-4.

Kwon JY, Park IY, Kwon S-m, Kim CJ, Shin JC. The quadruple test for Down syndrome screening in pregnant women of advanced maternal age. Arch. Gynecol. Obstet. 2012;285(3):629-33.

Canick J. Prenatal screening for trisomy 21: recent advances and guidelines. Clinical chemistry and laboratory medicine 2012;50(6):1003-8.

ศิริกัญญา สมศร. ผลการตรวจคัดกรองดาวน์ซินโดรมในสตรีตั้งครรภ์อายุมากที่โรงพยาบาลร้อยเอ็ด. ศรีนครินทร์เวชสาร 2564;36(5):513-21.

Tabor A, Alfirevic Z. Update on procedure-related risks for prenatal diagnosis techniques. Fetal diagnosis and therapy 2010;27(1):1-7.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-05-23

How to Cite

เดชอัมพร ธ. (2024). ผลการตรวจคัดกรองดาวน์ซินโดรมด้วยวิธี quadruple test ในหญิงตั้งครรภ์ โรงพยาบาลพิบูลมังสาหาร. วารสารการแพทย์และสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 7(2), 108–116. สืบค้น จาก https://he01.tci-thaijo.org/index.php/jmpubu/article/view/266977