ผลของโปรแกรมจิตวิทยาการให้คำปรึกษาเชิงนวัตกรรมต่อพลังสุขภาพจิตในบุคลากรทางการศึกษาภายใต้สถานการณ์โควิด-19
คำสำคัญ:
จิตวิทยาการให้คำปรึกษาเชิงนวัตกรรม , พลังสุขภาพจิต, สถานการณ์โควิด-19บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมจิตวิทยาการให้คำปรึกษาเชิงนวัตกรรม และผลของใบความรู้เกี่ยวกับจิตวิทยาการให้คำปรึกษาต่อพลังสุขภาพจิต และเปรียบเทียบผลของโปรแกรมจิตวิทยาการให้คำปรึกษาเชิงนวัตกรรมและใบความรู้เกี่ยวกับจิตวิทยาการให้คำปรึกษาต่อพลังสุขภาพจิตระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ กลุ่มตัวอย่าง คือ บุคลากรทางการศึกษา จังหวัดขอนแก่น โดยการสุ่มคัดเลือกแบบเจาะจง จำนวน 26 คน แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมจิตวิทยาการให้คำปรึกษาเชิงนวัตกรรมจำนวน 13 คน และกลุ่มเปรียบเทียบได้ใบความรู้เกี่ยวกับจิตวิทยาการให้คำปรึกษาจำนวน 13 คน จำนวน 8 ครั้ง ครั้งละ 1-2 ชั่วโมง สัปดาห์ละ 2 ครั้ง จำนวน 4 สัปดาห์ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบประเมินพลังสุขภาพจิต โปรแกรมจิตวิทยาการให้คำปรึกษาเชิงนวัตกรรม และ ใบความรู้เกี่ยวกับจิตวิทยาการให้คำปรึกษา สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ สถิติทดสอบ Wilcoxon Matched Pairs Signed-Ranks Test และ Mann-Whitney U Test ผลการวิจัยพบว่า 1) กลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมจิตวิทยาการให้คำปรึกษาเชิงนวัตกรรมหลังทดลอง มีระดับพลังสุขภาพจิตเพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (p< 0.01) 2) กลุ่มเปรียบเทียบที่ได้รับใบความรู้เกี่ยวกับจิตวิทยาการให้คำปรึกษาหลังทดลอง มีระดับพลังสุขภาพจิตไม่เพิ่มขึ้น และ 3) กลุ่มทดลองกับกลุ่มเปรียบเทียบมีพลังสุขภาพจิตแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 (p< 0.01)
References
World Health Organization. Report of the WHO-China Joint Mission on coronavirus disease 2019 (COVID-19) [Internet]. [cited 2021 August 10 ]. Available from : https://www.who.int/publications/i/item/report-of-the-who-china-joint-mission-on-coronavirus-disease-2019-(covid-19)
กรมควบคุมโรค. สถานการณ์ของโรคโคโรนา-19. กรุงเทพฯ: กระทรวงสาธารณสุข; 2563.
สุรัยยา หมานมานะ, โสภณ เอี่ยมศิริถาวร และสุมนมาลย์ อุทยมกุล. โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19). วารสารสถาบันบำราศนราดูร 2563; 14(2): 124-33.
Veer IM, Riepenhausen A, Zerban M, Wackerhagen C, Puhlmann LM, Engen H, et.at. Psycho-social factors associated with mental resilience in the Corona lockdown. Journal of Translational Psychiatry 2021; 11(1):67-77.
Jovanovic A, Klimek P, Schneider R, Qien K, Brown J, Digennaro M, et.al. Assessing resilience of healthcare infrastructure exposed to COVID‑19: emerging risks, resilience indicators, interdependencies and international standard. Environ Syst Decis. 2020; 40(2):252–86.
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. มุมมองด้านสุขภาพจิตและจิตสังคมของการระบาด COVID-19. กรุงเทพฯ: กระทรวงสาธารณสุข; 2563.
Abookire S, Plover C, Frasso R, and Ku B. Health Design Thinking: An Innovative Approach in Public Health to Defining Problems and Finding Solutions. Journal of frontiers in Public Heath 2020; 10(8):459-65.
Kimhi S, Marciano H, Eshel Y, and Adini B. Resilience and demographic characteristics predicting distress during the COVID-19 crisis. Social Science & Medicine 2020; 265:113389.
Kruse C, Schmidt M. Sustainable Governance and Leadership. In: Fisher PG, editor. Making the Financial System Sustainable. Cambridge: Cambridge University Press; 2020. p. 145–67.
Mokhber M, Khairuzzaman W, Vaklbashi A. Leadership and Innovation: The Moderator Role of Organization Support for Innovative Behaviors. J. Manag & Organization 2018 ; 24(1):108-28.
มะยุรีย์ พิทยาเสนีย์ และพิชญาภา ยวงสร้อย.การคิดเชิงออกแบบ : ครูนวัตกรวิถีใหม่. วารสารมหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง 2564; 10(2):190-99.
วุฒิชัย โยตา, วนิดา ดรปัญหา, สุวรี ฤกษ์จารี. ผลการให้คำปรึกษาทางจิตวิทยาร่วมกับโปรแกรมทางกายภาพบำบัดต่ออาการปวดกล้ามเนื้อและความเครียดในผู้ป่วยกลุ่มปวดพังผืดกล้ามเนื้อเรื้อรัง. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติครั้งที่ 4 : นวัตกรรมเพื่อสร้างความเข้มแข็งในการพัฒนาอย่างยั่งยืน; 9 ธันวาคม 2562 ณ ศูนย์ประชุมมหาวิทยาลัยเจ้าพระยา มหาวิทยาลัยเจ้าพระยา. นครสวรรค์; 2562. 220-31.
สุจิตรา อู่รัตนมณี และสุภาวดี เลิศสำราญ. ความเครียด ความวิตกกังวล และภาวะซึมเศร้า ของนักเรียนวัยรุ่นที่เตรียมตัวสอบคัดเลือกเข้ามหาวิทยาลัย. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต 2560; 31(2):78-94.
อภิชัย มงคล. ดัชนีชีี้วัดความสุขคนไทย [อินเตอร์เน็ต]. [สืบค้นเมื่อ 25 สิงหาคม 2564]. แหล่งข้อมูล: https://dmh.go.th/test/download/files/thi15.pdf
โสฬวรรณ อินทสิทธิ์ และ สิริกุล จุลคีรี, บรรณาธิการ. เปลี่ยนร้ายกลายเป็นดี พลังสุขภาพจิต RQ: Resilience Quotient. พิมพ์ครั้งที่ 4. นนทบุรี: บริษัท บียอนด์พับลิสชิ่ง จำกัด; 2563.
วุฒิชัย โยตา, จุฬาภรณ์ โสตะ, อำนาจ ชนะวงศ์, ปิ่นนเรศ กาศอุดม. รูปแบบนวัตกรรมการคิดเชิงการออกแบบร่วมกับจิตวิทยาการให้คําปรึกษาในสถานการณ์โควิด-19. เอกสารประกอบการประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติครั้งที่ 2 ASCER 2022: มหาวิทยาลัยไร้ขอบเขต: สูตรไขว้ในการเรียนรู้และการปรับเปลี่ยนมุมมองทางการศึกษา; 4 มิถุนายน 2565 ณ คณะศึกษาศาสตร์และศิลปศาสตร์ วิทยาลัยบัณฑิตเอเซีย. ขอนแก่น: 2565; 318-32.
ลักขณา สิริวัฒน์.การให้คำปรึกษากลุ่ม. ขอนแก่น: ขอนแก่นการพิมพ์; 2551.
สุรางค์ โค้วตระกูล. จิตวิทยาการศึกษา. พิมพ์ครั้งที่ 12. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2559.
วุฒิชัย โยตา.จิตวิทยาการศึกษา. ขอนแก่น : ม.ป.พ.; 2565.
สรรเสริญ หุ่นแสน, พัชราภรณ์ ศรีสวัสดิ์, ชูศรี เลิศรัตน์เดชากุล และวิไลลักษณ์ ลังกา. การให้คำปรึกษากลุ่มแบบผสมผสานเทคนิคเพื่อเสริมสร้างปณิธานแห่งตนทางการเรียนของนักศึกษาวิชาชีพครู. วารสารปัญญาภิวัฒน์ 2560; 10(1):185-95.
Becker SP, Gregory AM. Editorial perspective: perils and promise for child and adolescent sleep and associated psychopathology during the COVID-19 pandemic. J. Child Psychol. Psychiatry 2020;61(1):757–75.
กฤชกันทร สุวรรณพันธุ์, เสาวลักษณ์ ศรีดาเกษ, ลำพึง วอนอก, สุพัฒน์ อาสนะ, วรรณศรี แววงาม, กุลธิดา กิ่งสวัสดิ์ และคณะ.ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความเครียดต่อการระบาดของโรคติดเชื้อไวรสัโคโรนา 2019 (COVID-19)ของนักศึกษาคณะสาธารณสุขศาสตร์และสหเวชศาสตร์ สถาบันพระบรมราชชนก. วารสารวิจัยทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ 2563; 14(2):138-48.
Kleinsmann M, Valkenburg R, & Sluijs J. Capturing the value of design thinking in different innovation practices. Int. J. Des. 2017; 11(2): 25-40.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารการแพทย์และสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารการแพทย์และสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารการแพทย์และสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารการแพทย์และสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอกเพื่อการพัฒนางานด้านวิชาการ แต่ต้องได้รับการอ้างอิงที่ถูกต้องเหมาะสม