The factors affecting to medication taking behaviors in elderly diabetes patients in moo 1 Nai Rai, Phe sub-district, Mueang district, Rayong province
Keywords:
Medication Use Behavior, Mediatings factors, Diabetes Mellitus, ElderlyAbstract
Medication use behaviors in elderly diabetes patients is an important issue. If the patients have inappropriate medication behaviors, they will be unable to control blood sugar levels, resulting in complications that affect life. This study aimed to study and to find out the factors affecting to medication taking behaviors in diabetic elderly patient in Moo 1 Nai Rai, Phe Sub-district, Mueang District, Rayong Province. The conceptual framework was developed from the BATLoC Model. The study was a cross sectional descriptive design. The samples were 88 diabetic patients aged 60 and over, calculated the sample group using Daniel's formula. Data were collected by interviewing using tested qualities questionnaire and were analyzed using descriptive statistics and inferential statistics, simple linear regression analysis. The results showed that most of the samples were female, most of them aged between 60-65 years old, finished primary education, most of the diabetes medication used 1 type per day, and most were comorbidity. Health and treatment related factors including side effects overall was at a low level and satisfaction overall was a high level. As for the health locus of control, the internal locus of control overall was at a high level and the external locus of control overall was at a moderate level. As for mediating factors, the perceived medication necessity overall was at a high level and medication concern overall was at a moderate level. The result found that the samples had taking medication behaviors in overall diabetes at a high level. The factors that could predict taking medication behaviors of elderly diabetic patients were primary education ( = 0.323, p = 0.001), comorbidity ( = 0.352 , p = 0.000), number of diabetes medication used ( = 0.224, p = 0.036), perceived medication necessity ( = 0.485, p = 0.000), and medication concerns ( = -0.423, p = 0.000). From this study the necessary perception should be strengthened regarding medication use in elderly diabetic patients. To achieve their behavior appropriately and to reduce the risk of further complications.
References
จิตชนก ลี้ทวีสุข. พฤติกรรมการใช้ยาของผู้ป่วยสูงอายุโรคเรื้อรัง ในชุมชนเชียงทอง; นิพนธ์ต้นฉบับ ศูนย์แพทยศาสตรศึกษาชั้นคลินิก โรงพยาบาลสมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร 2556 [Online]. แหล่งข้อมูล. http://www.med.nu.ac.th/ [เข้าถึงเมื่อ 16 สิงหาคม 2562].
วสันต์ จันทา. ปัญหาจากการใช้ยาในผู้ป่วยเบาหวานสูงอายุที่ได้รับหลายขนาน โรงพยาบาลสมเด็จพระนางเจ้าสิริกิติ์ 2556 [Online]. แหล่งข้อมูล. http://www2.nmd.go.th/sirikit/srkhosp/www/KmSrk3/lib/r2r/R2R-4-วสันต์.pdf [เข้าถึงเมื่อ 16 สิงหาคม 2562].
ชมพูนุท พัฒนจักร. ความร่วมมือในการใช้ยาของผู้ป่วยสูงอายุโรคเรื้อรัง ในเขตพื้นที่บริการ โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำบลลาดพัฒนา อำเภอเมือง จังหวัดมหาสารคาม. วารสารโรงพยาบาลมหาสารคาม. มหาสารคาม. 2562; 16(3):13-22.
ชื่นจิตร กองแก้ว. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์ การใช้ยาในผู้สูงอายุไทยเขตภาคเหนือตอนล่างประเทศไทย 2557 [Online]. แหล่งข้อมูล. https://thaitgri.org/?p=37010 [เข้าถึงเมื่อ 27 มิถุนายน 2563]
ปิยะดา ยุ่ยฉิม, มยุรี นิรัตธราดร, พนิดา ศิริอำพันธ์กุล, ณัฐพัชร์ บัวบุญ. ผลของโปรแกรมการมีส่วนร่วมของครอบครัวในการจัดการปัญหาการใช้ยาต่อพฤติกรรมการใช้ยาของผู้สูงอายุโรคเรื้อรังในชุมชน. วารสารสาธารณสุขศาสตร์ กรุงเทพฯ. 2561; 48(1): 44-56.
สำนักงานสาธารณสุขจังหวัดระยอง. อัตราการป่วยด้วยโรคเบาหวาน เขตสุขภาพที่ 6 จังหวัดระยอง อำเภอเมืองระยอง ตำบลเพ 2562 [Online]. แหล่งข้อมูล. https://ryg.hdc.moph.go.th/hdc/reports/report.php?source=formated%2Fncd.php&cat_id=6a1fdf282fd28180eed7d1cfe0155e11&id=cefa42b9223ec4d1969c5ce18d762bdd&fbclid=IwAR1GAWUF14rG_DXe67yUI9Ri3DWUwQqovaT4AooIjhf5X6xdSfNcc63vcFg. [เข้าถึงเมื่อ 16 สิงหาคม 2562].
ประทุม สุภชัยพานิชพงศ์, ภรณี วัฒนสมบูรณ์, สุปรียา ตันสกุล, พิศาล ชุ่มชื่น. ความรู้ และความเชื่อเกี่ยวกับการใช้ยาของผู้ป่วยเบาหวานที่ไม่รับประทานยาตามคำแนะนำอย่างต่อเนื่อง. Veridian E-JournalScience and Technology Silpakorn University. นครปฐม. 2557; 1(1): 1-12.
อลิษษา วิริยโชติ. อิทธิพลของการรับรู้ความจำเป็นต่อการใช้ยา ความกังวลจากการใช้ยา ความพึงพอใจในข้อมูลที่ได้รับ และประสบการณ์การเกิดโรคกำเริบต่อความร่วมมือในการใช้ยาสูดขยายหลอดลมร่วมกับคอร์ติโคสเตียรอยด์ในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง (วิทยานิพนธ์ปริญญาพยาบาลศาสตร มหาบัณฑิต). คณะพยาบาลศาสตร์. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยมหิดล; 2558.
อลิษษา วิริยะโชติ, ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ, วิชชุดา เจริญกิจการ, วันชัย เดชสมฤทธิ์ฤทัย. อิทธิพลของการรับรู้ความจำเป็นต่อการใช้ยา ความกังวลจากการใช้ยา ความพึงพอใจในข้อมูลที่ได้รับ และประสบการณ์การเกิดโรคกำเริบ ต่อความร่วมมือในการใช้ยาสูดขยายหลอดลมร่วมกับ คอร์ติโคสเตียรอยด์ในผู้ป่วยโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง. วารสารพยาบาลทหารบก. 2559; 17(3): 187-196.
ฉัตรสุรางค์ ขำรักษ์, ดวงรัตน์ วัฒนกิจไกรเลิศ, วิชชุดา เจริญกิจการ, วันชัย เดชสมฤทธิ์ฤทัย. อิทธิพลของการรับรู้ความจําเป็นต่อการใช้ยา ความกังวลจากการใช้ยา ผลข้างเคียง และระยะเวลาการรักษาต่อความร่วมมือในการใช้ยาคอร์ติโคสเตียรอยด์ชนิดสูดในผู้ป่วย ผู้ใหญ่โรคหืด. Journal of Nursing Science. 2559; 34(2): 73-82.
Cochran WG. (1977). Sampling Techniques. Third Edition. New York: John Wiley & Sons, Inc.
ศศิธร รุ่งสว่าง. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับความร่วมมือในการใช้ยาหลายขนาน ของผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง. วารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม. กรุงเทพฯ. 2560; 18(35): 6-23.
นันทิตา จุไรทัศนีย์. ความสัมพันธ์ของความเชื่ออำนาจภายใน-ภายนอกตนและความเชื่อด้านสุขภาพกับการดูแลตนเองของผู้ป่วยวัยรุ่น 2551 [Online]. แหล่งข้อมูล. https://med.mahidol.ac.th/nursing/jns/DocumentLink/2552/issue_02/03.pdf. [เข้าถึงเมื่อ 31 สิงหาคม 2562].
วินัดดา ดรุณถนอม, จิตรลดา อุทัยพิบูลย์, ปวีณ ตั้งจิตต์พิสุทธิ์. ความร่วมมือในการใช้ยาและพฤติกรรมของผู้สูงอายุโรคเรื้อรัง ในตำบลหัวง้ม อำเภอพาน จังหวัดเชียงราย. เชียงรายเวชสาร. เชียงราย. 2562; 11(1): 19-27.
สุมาลี วังธนากร ชุติมา ผาติดำรงกุล และปรานีคำจันทร์. ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการรับประทานยาในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง. สงขลานครินทร์เวชสาร. สงขลา. 2551; 26(6): 539-547.
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารการแพทย์และสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารการแพทย์และสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารการแพทย์และสาธารณสุข มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี กองบรรณาธิการไม่สงวนสิทธิ์ในการคัดลอกเพื่อการพัฒนางานด้านวิชาการ แต่ต้องได้รับการอ้างอิงที่ถูกต้องเหมาะสม