พัฒนาการของจิตเวชศาสตร์ผู้สูงอายุในประเทศไทย
คำสำคัญ:
การฝึกอบรม, จิตเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ, ประเทศไทย, อนุสาขาบทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ : เพื่อรวบรวมเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับจิตเวชศาสตร์ผู้สูงอายุในประเทศไทย โดยเฉพาะการเกิดขึ้นของชมรมจิตเวชศาสตร์ผู้สูงอายุและประสาทจิตเวชศาสตร์ไทย รวมทั้งความเป็นมาของการฝึกอบรมแพทย์ประจำบ้านต่อยอดในอนุสาขาจิตเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ
วิธีการ : รวบรวมเอกสารที่เกี่ยวข้องกับจิตเวชศาสตร์ผู้สูงอายุทั้งในรูปแบบของบทความที่ตีพิมพ์ในวารสาร ฐานข้อมูล PubMed และ ThaiJO และสื่อสิ่งพิมพ์อื่น ๆ รวมทั้งจากประสบการณ์ตรงของผู้นิพนธ์เอง นับจากปี พ.ศ. 2524 ถึงกรกฎาคม พ.ศ. 2566
ผล : จิตเวชศาสตร์ผู้สูงอายุในประเทศไทยมีพัฒนาการมาตามลำดับตั้งแต่ปี พ.ศ. 2549 เช่น การเปลี่ยนแปลงจากกลุ่มผู้สนใจด้านจิตเวชศาสตร์ผู้สูงอายุมาเป็นชมรมจิตเวชศาสตร์ผู้สูงอายุและประสาทจิตเวชศาสตร์ไทย การพัฒนาหลักสูตรอนุสาขาจิตเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ และการฝึกอบรมและรับแพทย์ประจำบ้านต่อยอดเป็นครั้งแรกในปี พ.ศ. 2562 โดยเมื่อนับถึงเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2566 มีจิตแพทย์ที่ได้รับวุฒิบัตรหรือหนังสืออนุมัติอนุสาขานี้รวม 42 คน คิดเป็นสัดส่วนจิตแพทย์ที่เชี่ยวชาญด้านผู้สูงอายุ 1 คนต่อประชากรสูงอายุ 65 ปีขึ้นไป 205,615 คน ปัจจุบันมีสถาบันฝึกอบรมในอนุสาขานี้ 5 แห่งที่มีศักยภาพรับแพทย์ประจำบ้านต่อยอดรวมทุกสถาบันปีละ 11 คนต่อชั้นปี
สรุป : จิตเวชศาสตร์ผู้สูงอายุในประเทศไทยได้มีพัฒนาการมาอย่างต่อเนื่อง ตั้งแต่การก่อตั้งชมรมจิตเวชศาสตร์ผู้สูงอายุและประสาทจิตเวชศาสตร์ไทย ตลอดจนการพัฒนาหลักสูตรและการฝึกอบรมต่อยอดในอนุสาขาจิตเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ คาดว่าในอนาคตจิตเวชศาสตร์ผู้สูงอายุและคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยไทยกลุ่มนี้จะสดใสมากกว่าในปัจจุบัน
Downloads
References
Grossberg GT. Geriatric psychiatry-an emerging specialty. Mo Med. 2010;107(6):401-5.
Hilton C, Arie T. The Development of Old Age Psychiatry in the UK. In: Abou-Saleh MT, Katona C, Kumar A, editor. Principles and Practice of Geriatric Psychiatry, 3rd ed [Internet]. London: John Wiley & Sons, Ltd; 2011 [cited 2023 Aug 7]. Available from: https://doi.org/10.1002/9780470669600.ch2
Wongpakaran N. Geriatric psychiatry in Thailand. J Psychiatr Assoc Thailand. 2008;53(suppl 1):395-405.
Wongpakaran N, Wongpakaran T, Supasitthumrong T. Geriatric psychiatry fellowship program: Lesson learned from Thailand. IPA Bulletin. 2022;39(4):22-4.
Arie T. Health care of the elderly: the Nottingham model. In: Copeland JRM, Abou-Saleh MT, Blazer DG, editors. Principles and Practice of Geriatric Psychiatry, 2nd ed [Internet]. London: John Wiley & Sons, Ltd; 2002 [cited 2023 Aug 7]. Available from: https://doi.org/10.1002/0470846410.ch123(ii)
พิเชฐ อุดมรัตน์. การฝึกอบรมหลักสูตรจิตเวชผู้สูงอายุที่นอตติงแฮม [Psychogeriatrics course at Nottingham University]. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย. 2532;34(1):67-74.
พิเชฐ อุดมรัตน์. การรักษาผู้สูงอายุที่มีอาการนอนไม่หลับ. ใน: สุทธิพันธ์ จิตตะนุกูล, บรรณาธิการ. มุ่งสู่การดูแลผู้สูงอายุอย่างมีคุณภาพ [Treatment for older persons with Insomnia. In: Aiming for quality care for the elderly]. กรุงเทพฯ: บีบี พริ้นติ้งแอนด์พลับบลิชชิง; 2543. น. 146-54.
พิเชฐ อุดมรัตน์, จารุรินทร์ ปิตานุพงศ์. การรักษาผู้สูงอายุที่มีอาการซึมเศร้า [Treatment for older persons with depression]. วารสารพฤฒาวิทยาและเวชศาสตร์ผู้สูงอายุไทย. 2545;3(2):64-73.
พิเชฐ อุดมรัตน์, ณหทัย วงศ์ปการันย์, บรรณาธิการ. การใช้ยาทางจิตเวชในผู้สูงอายุ [Psychotropic drug use in elderly patients]. เชียงใหม่: กลางเวียงการพิมพ์; 2555.
สุขเจริญ ตั้งวงษ์ไชย, ชาวิท ตันวีระชัยสกุล, พิเชฐ อุดมรัตน์, บรรณาธิการ. คำแนะนำการรักษาโรคซึมเศร้าในผู้สูงอายุ [Treatment recommendation for major depressive disorder in older persons]. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2559.
ชมรมจิตเวชศาสตร์ผู้สูงอายุและประสาทจิตเวชศาสตร์ไทย. ประวัติของชมรมจิตเวชศาสตร์ผู้สูงอายุและประสาทจิตเวชศาสตร์ไทย [History of the Thai Society for Geriatric psychiatry and Neuropsychiatry] [อินเทอร์เน็ต]. ปทุมธานี: ชมรม; [สืบค้นเมื่อวันที่ 12 มิ.ย. 2566]. จาก: https://www.tsgn.in.th/v1/index.php/history-th
Thai Society for Geriatric psychiatry and Neuropsychiatry. History of Thai Society for Geriatric psychiatry and Neuropsychiatry (TSGN) [Internet]. Pathum Thani: TSGN; [cited 2023 Aug 7]. Available form: https://www.tsgn.in.th/v1/index.php/en/historyen
แพทยสภา. ข้อมูลแพทย์ที่ได้รับหนังสืออนุมัติ-วุฒิบัตรจากแพทยสภา 2507-2564 [Data of doctor who received diploma Thai Board from Thai Medical Council 1964-2021] [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: แพทยสภา; 2565 [สืบค้นเมื่อวันที่ 7 ส.ค. 2566]. จาก: https://www.tmc.or.th./pdf/tmc-stat-29-12-22-04pdf
สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (บีโอไอ). ข้อมูลทั่วไปด้านประชากร ปี 2565 [Demographic of population statistics in Thailand 2022] [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: สำนักงาน; 2566 [สืบค้นเมื่อวันที่ 7 ส.ค. 2566]. จาก: https://www.boi.go.th
สุขเจริญ ตั้งวงษ์ไชย. ศาสตราจารย์นายแพทย์พิเชฐ อุดมรัตน์: ผู้ก่อกำเนิดจิตเวชศาสตร์ผู้สูงอายุไทย. ใน: ดำรงค์ แวอาลี, ภัทราพร ช่างสาน, ชนกานต์ ชัชวาลา, บรรณาธิการ. 60 ปี ชีวิตและงานของอาจารย์พิเชฐ อุดมรัตน์ [Prof.Pichet Udomratn: the founder of geriatric psychiatry in Thailand]. กรุงเทพฯ: สหมิตรพัฒนาการพิมพ์, 2560. น. 120-1.
Stoddard FJ, Pandya A, Katz CL. Disaster psychiatry: readiness, evaluation and treatment. Washington DC: American Psychiatric Publishing; 2011.
Jeste DV, Palmer BW, Rettew DC, Boardman S. Positive psychiatry: its time has come. J Clin Psychiatry. 2015;76(6):675-83. doi:10.4088/JCP.14nr09599.
Udomratn P, Nakawiro D. Positive psychiatry and cognitive interventions for the elderly. Taiwanese J Psychiatry. 2016;30(1):23-34.
Torous J, Bucci S, Bell IH, Kessing LV, Faurholt-Jepsen M, Whelan P, et al. The growing field of digital psychiatry: current evidence and the future of apps, social media, chatbots, and virtual reality. World Psychiatry. 2021;20(3):318-35. doi:10.1002/wps.20883.
Castaldelli-Maia JM, Bhugra D. What is geopsychiatry? Int Rev Psychiatry. 2022;34(1):1-2. doi:10.1080/09540261.2022.2031915.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
- ผู้อ่านสามารถนำข้อความ ข้อมูล จากวารสารไปใช้ไปใช้ประโยชน์ทางวิชาการได้ เช่น เพื่อการสอน เพื่อการอ้างอิง แต่การนำไปใช้เพื่อวัตถุประสงค์อื่น เช่น เพื่อการค้า จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากกรมสุขภาพจิตก่อน
- ความคิดเห็น ข้อมูล และบทสรุปต่าง ๆ ที่ลงตีพิมพ์ในวารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทยเป็นของผู้เขียนบทความและมิได้แสดงว่ากองบรรณาธิการหรือกรมสุขภาพจิตเห็นพ้องด้วย