ระยะเวลาการเข้าถึงบริการของผู้ที่มีอาการทางจิตเวชในประเทศไทยจากการสำรวจระบาดวิทยาสุขภาพจิตแห่งชาติ
คำสำคัญ:
ระบาดวิทยาสุขภาพจิต, ระยะเวลาก่อนเข้าสู่การรักษา, โรคจิตเวชที่พบบ่อยบทคัดย่อ
วัตถุประสงค์: เพื่อศึกษาระยะเวลาก่อนเข้าสู่การรักษาของผู้ที่มีอาการทางจิตเวชที่พบบ่อยในประเทศไทยและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมเข้ารับบริการ
วิธีการ: ใช้ข้อมูลการสำรวจระบาดวิทยาสุขภาพจิตของคนไทยระดับชาติครั้งล่าสุด (พ.ศ. 2556) สำรวจในประชากรไทยอายุ 18 ปีขึ้นไปที่อาศัยในครัวเรือนที่ได้รับการสัมภาษณ์ด้วยแบบสัมภาษณ์ World Mental Health - Composite International Diagnostic Interview version 3.0 (WMH-CIDI 3.0) ฉบับภาษาไทย วิเคราะห์หาความแตกต่างของระยะเวลาก่อนเข้าสู่การรักษาโดยนับจากช่วงที่มีอาการครั้งแรกของโรคจิตเวชที่พบบ่อยแต่ละโรค และความแตกต่างในการเข้าสู่การรักษาระหว่างเพศ อายุ และ ภูมิภาค
ผล: ระยะเวลาเฉลี่ยตั้งแต่มีอาการครั้งแรกของโรคจิตเวชจนเข้าสู่การรักษาคือ 10 ปี โดยพบระยะเวลานานที่สุดในโรคเครียดหลังเหตุการณ์สะเทือนขวัญและโรคกลัวที่ชุมชน ใช้เวลา 18.6 ปี และ 17.8 ปี ตามลำดับ ระยะเวลาเฉลี่ยก่อนเข้าสู่การรักษาสั้นที่สุดพบในผู้ที่มีโรควิตกกังวลไปทั่ว (2.0 ปี) และโรคซึมเศร้า (2.7 ปี) ผู้หญิงเข้ารักษาโรคซึมเศร้ามากกว่าผู้ชาย แต่มักจะไม่เข้ารักษาหากมีความผิดปกติพฤติกรรมดื่มสุราหรือใช้สารเสพติดผิดกฎหมาย การเข้าสู่บริการของผู้ที่มีโรคจิตเวชเหล่าไม่มีความแตกต่างในแต่ละภูมิภาคของประเทศ
สรุป: ระยะเวลาก่อนเข้าสู่การรักษาในผู้ที่มีโรคจิตเวชที่พบบ่อยของประเทศไทยค่อนข้างนาน อาจส่งผลเสียต่อผลลัพธ์การรักษา ควรคำนึงถึงการลดระยะเวลาก่อนการได้รับการรักษาในการพัฒนาระบบบริการจิตเวชของประเทศ
Downloads
References
2. ขนิษฐา กู้ศรีสกุล, พันธุ์นภา กิตติรัตนไพบูลย์, ณัฐพัชร์ มรรคา, กนิษฐา บุญธรรมเจริญ. ภาระโรคจิตเวชและความผิดปกติของพฤติกรรมใช้สุราสารเสพติดในประเทศไทย ปี พ.ศ. 2557 [The burden of mental and alcohol/substance use disorders in Thailand 2014]. วารสารสุขภาพจิตแห่ง ประเทศไทย. 2561;26:1-15.
3. Sartorius N, Ustun T, Costa de Silva J. An international study of psychological problems in primary care. Preliminary report from the World Health Organization Collaborative Project on Psychological Problems in General Health Care. Arch Gen Psychiatry. 1993;50:819-24.
4. Kiseley S, Scott A, Denney J, Simon G. Duration of untreated symptoms in common mental disorders: association with outcomes. BJ Pscyh. 2006;189:79-80. doi:10.1192/bjp.bp.105.019869.
5. Van Meter AR, Burke C, Youngstrom EA, Faedda GL, Correll CU. The bipolar prodrome: meta-analysis of symptom prevalence prior to initial or recurrent mood episodes. J Am Acad Child Adolesc Psychiatry. 2016;55:543-55. doi:10.1016/j.jaac.2016.04.017.
6. Liddon L, Kingerlee R, Barry JA. Gender differences in preferences for psychological treatment, coping strategies, and triggers to help-seeking. Br J Clin Psychol. 2018;57:42-58. doi:10.1111/bjc.12147.
7. Kraus C, Kadriu B, Lanzenberger R, Zarate CA Jr, Kasper S. Prognosis and improved outcomes in major depression: a review. Transl Psychiatry. 2019;9:127. doi:10.1038/s41398-019-0460-3.
8. Ghio L, Gotelli S, Marcenaro M, Amore M, Natta W. Duration of untreated illness and outcomes in unipolar depression: a systematic review and meta-analysis. J Affect Disord. 2014;152-154:45-51. doi:10.1016/j.jad.2013.10.00
9. Kongsuk T, Supanya S, Kenbubpha K, Phimtra S, Sukhawaha S, Leejongpermpoon J. Services for depression and suicide in Thailand. WHO South-East Asia J Public Health. 2017;6:34-8. doi:10.4103/2224-3151.206162.
10. Kessler RC, Haro JM, Heeringa SG, Pennell BE, Ustun TB. The World Health Organization World Mental Health Survey Initiative. Epidemiol Psichiatr Soc. 2006;15:161-6.
11. Heeringa SG, Wells JE, Hubbard F, Mneimneh ZN, Chiu WT, Sampson NA, et al. Sample designs and sampling procedures. In: Kessler RC, Ustun TB, editors. The WHO World Mental Health Surveys. New York: Cambridge University Press; 2008. p. 14-32.
12. พันธุ์นภา กิตติรัตนไพบูลย์, นพพร ตันติรังสี, วรวรรณ จุฑา, สาวิตรี อัษณางค์กรชัย, สุทธา สุปัญญา. การสำรวจระบาดวิทยาสุขภาพจิตของคนไทยระดับชาติ ปี พ.ศ. 2556 ปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย: การสำรวจระบาดวิทยาสุขภาพจิตระดับชาติปีพ.ศ. 2556 [Thai National Mental Health Survey 2013: methodology and procedure]. วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย. 2560;24:1-14.
13. StataCorp. Stata Statistical Software: Release 14. Release 14 ed. College Station, TX: StataCorp LP; 2015.
14. พันธุ์นภา กิตติรัตนไพบูลย์, นพพร ตันติรังสี, วรวรรณ จุฑา, อธิป ตันอารีย์, ปทานนท์ ขวัญสนิท, สาวิตรี อัษณางค์กรชัย. ความชุกของโรคจิตเวชและปัญหาสุขภาพจิตของคนไทย: การสำรวจ ระบาดวิทยาสุขภาพจิตระดับชาติ ปี พ.ศ. 2556 [Prevalence of mental disorders and mental health problems: Thai National Mental Health Survey 2013]. วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย. 2560; 25:1-19.
15. Wendt D, Shafer K. Gender and attitudes about mental health help seeking: results from national data. Health & Social Work. 2016;41(1):e20-e8.
16. Thompson AE, Anisimowicz Y, Miedema B, Hogg W, Wodchis WP, Aubrey-Bassler K. The influence of gender and other patient characteristics on health care-seeking behaviour: a QUALICOPC study. BMC Fam Pract. 2016;17:38.
17. McKenzie SK, Collings S, Jenkin G, River J. masculinity, social connectedness, and mental health: men's diverse patterns of practice. Am J Mens Health. 2018;12:1247-61. doi:10.1177/1557988318772732.
18. Green CA. Gender and use of substance abuse treatment services. Washington, DC: National Institute on Alcohol Abuse and Alcoholism; 2018.
19. Goldberg D. The overlap between the common mental disorders--challenges for classification. Int Rev Psychiatry. 2012;24:549-55.
20. Vaidyanathan U, Patrick CJ, Iacono WG. Examining the overlap between bipolar disorder, nonaffective psychosis, and common mental disorders using latent class analysis. Psychopathology. 2012;45:361-5. doi:10.1159/000337265.
21. อิทธิพล สูงแข็ง, เบ็ญจมาส พฤกษ์กานนท์. ประสิทธิผลโครงการเพื่อลดช่องว่างการบริการสุขภาพจิตในประเทศไทย [Effectiveness of the Mental Health Gap Action Programme in Thailand]. วารสารวิชาการสาธารณสุข. 2557;23:427-36.
22. van Belijouw I, Verhaak P, Cuijpers P, van Marwijk H, Penninx B. The course of untreated anxiety and depression, and determinants of poor one-year outcome: a one-year cohort study. BMC Psychiatry. 2010;10:86. doi:10.1186/1471-244X-10-86.
23. Merikangas KR, Zhang HP, Avenevoli S, Acharyya S, Neuenschwander M, Angst J. Longitudinal trajectories of depression and anxiety in a prospective community study - The Zurich cohort study. Arch Gen Psychiatry. 2003;60:993-1000. doi:10.1001/archpsyc.60.9.993.
24. Tangcharoensathien V, Witthayapipopsakul W, Panichkriangkrai W, Patcharanarumol W, Mills A. Health systems development in Thailand: a solid platform for successful implementation of universal health coverage. The Lancet. 2018;391(10126):1205-23.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
- ผู้อ่านสามารถนำข้อความ ข้อมูล จากวารสารไปใช้ไปใช้ประโยชน์ทางวิชาการได้ เช่น เพื่อการสอน เพื่อการอ้างอิง แต่การนำไปใช้เพื่อวัตถุประสงค์อื่น เช่น เพื่อการค้า จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากกรมสุขภาพจิตก่อน
- ความคิดเห็น ข้อมูล และบทสรุปต่าง ๆ ที่ลงตีพิมพ์ในวารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทยเป็นของผู้เขียนบทความและมิได้แสดงว่ากองบรรณาธิการหรือกรมสุขภาพจิตเห็นพ้องด้วย