Factors Influencing COVID-19 Prevention during Post-Pandemic to Endemic Transition among Health Science Students in Burapha University

Authors

  • Phawinee Ketpan Academic staff, Faculty of Public Health Burapha University
  • Paradee Asa Asst.Prof., Environmental health program Faculty of Public Health, Burapha University
  • Taddao Pahasup-anan Lecturer, Environmental health program Faculty of Public Health, Burapha University
  • Manutsanun Pibanwong Scientist Environmental health program Faculty of Public Health, Burapha University
  • Tistaya Semangoen Asst.Prof., Faculty of Allied Health Sciences Burapha University
  • Narissara Channarong Lecturer, Public Health Program Faculty of Science and Technology, Nakhon Sawan Rajabhat University
  • Rotruedee Chotigawin Asst.Prof., Environmental health program Faculty of Public Health, Burapha University

Keywords:

การป้องกันโรค, โรคโควิด-19, นิสิตวิทยาศาสตร์สุขภาพ, โรคประจำถิ่น

Abstract

การวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันโรคโควิด-19 ของนิสิตวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยบูรพา กลุ่มตัวอย่าง คือ นิสิตวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยบูรพา ชั้นปีที่ 1 - ชั้นปีที่ 4 จำนวน 330 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคล ความรู้ ความตระหนัก การรับรู้โอกาสเสี่ยง การเคยได้รับข้อมูลข่าวสาร และพฤติกรรมการป้องกันโรคโควิด-19 ตั้งแต่เดือน ธันวาคม 2565 ถึง มีนาคม 2566 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และสถิติเชิงอนุมาน โดยวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน

ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการป้องกันโรคโควิด-19 อยู่ในระดับดีมาก (x ̅=30.80, S.D.=5.00) คิดเป็นร้อยละ 75.20 ปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันโรคโควิด-19 คือ การเคยได้รับข้อมูลข่าวสาร (β=0.200, p=0.001) และความตระหนักเกี่ยวกับการป้องกันโรค (β=0.119, p=0.028) สามารถร่วมทำนายการป้องกันโรคโควิด-19 ของนิสิตวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยบูรพา ได้ร้อยละ 4.5 (R2adjust = 0.045, p-value < 0.001) โดยผลจากการศึกษาในครั้งนี้สามารถนำมาปรับใช้เพื่อการรณรงค์และส่งเสริมให้เห็นถึงความสำคัญและระมัดระวังอย่างต่อเนื่อง

References

กรมควบคุมโรค. สถานการณ์ผู้ติดเชื้อ COVID-19 อัพเดทรายวัน [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: กรมควบคุมโรค; 2564 [เข้าถึง เมื่อ 29 ธันวาคม 2564]. เข้าถึงได้จาก: https://covid19.ddc.moph.go.th

นักสิทธ์ ศักดาพัฒน์. ปัจจัยเชิงเหตุแบบบูรณาการทางจิตสังคมที่เกี่ยวข้องกับพฤติกรรมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนาของนักศึกษาระดับปริญญาตรี. วารสารพฤติกรรมศาสตร์.2564; 27(2): 39-62.

ศูนย์ข้อมูลโควิด-19 กรมประชาสัมพันธ์. การแบ่งโควิดเป็นโรคประจำถิ่น [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: กรมประชาสัมพันธ์; 2565. [เข้าถึงเมื่อ 25 ธ.ค. 2567]. เข้าถึงได้จาก: https://www.facebook.com/informationcovid19/?locale=th_TH

บงกช โมระสกุล, พรศิริ พันธสี. ความรู้และพฤติกรรมการป้องกันโรคโควิด-19 ของนักศึกษาพยาบาลชั้นปีที่ 1 วิทยาลัยนานาชาติเซนต์เทเรซา และวิทยาลัยเซนต์หลุยส์. วารสารศูนย์อนามัยที่ 9. 2564; 15(37): 179-95.

ทยาวีร์ จันทรวิวัฒน์, แสงนภา บารมี. ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการป้องกันโรคโควิด-19 ของนักศึกษาพยาบาลวิทยาลัยพยาบาลแห่งหนึ่ง. วารสารสุขภาพและการศึกษาพยาบาล. 2566; 29(2): 1-15.

นารีมะห์ แวปูเตะ, คันธมาทน์ กาญจนภูมิ, กัลยา ตันสกุล. พฤติกรรมการป้องกันโรคจากไวรัสโคโรนา 2019 ของนักศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏสงขลา. วารสารสภาการสาธารณสุขชุมชน. 2564; 3(2): 31-39.

เสถียร เชื้อลี, รับขวัญ เชื้อลี, คณัฐวุฒิ หลวงเทพ. ความรู้และพฤติกรรมการปฏิบัติตนเกี่ยวกับการป้องกันโรคโควิด 19 (COVID-19) ของนักศึกษา : กรณีศึกษาวิทยาลัยการสาธารณสุขในจังหวัดอุบลราชธานี. วารสารสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10. 2565; 20(1): 49-62.

Daniel WW. Biostatistics: A foundation for analysis in the health sciences. 6th ed. New York: Wiley; 1995.

Bloom BS, Hastings JT, Madaus, GF. Hand book on Formative and Summative Evaluation of Student Learning. New York: McGraw-Hill Company; 1971.

Best JW. Research in Education. 3rd ed. Engelwood Cliffs, New Jersey: Pretice Hall, Inc.; 1977.

รัฐบาลไทย. สถานการณ์การติดเชื้อโคโรน่าไวรัส 2019 [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: รัฐบาลไทย; 2565 [เข้าถึงเมื่อ 10 ต.ค. 2566]. เข้าถึงได้จาก https://www.thaigov.go.th/news/contents/ details/52281

สุมลรัตน์ ขนอม, เฉลียว ผจญภัย. ประสิทธิผลของวัคซีนป้องกันโรคโควิด-19 ในการป้องกันการติดเชื้อ และภาวะปอดอักเสบจากการติดเชื้อของอำเภอพรหมคีรี จังหวัดนครศรีธรรมราช. วารสารศาสตร์สุขภาพและการศึกษา. 2566; 3(1): 47-54.

พัสกร องอาจ, รัชฎาภรณ์ อึ้งเจริญ. พฤติกรรมการป้องกันตนเองจากโรคติดเชื้อไวรัสโควิด-19:กรณีศึกษานิสิตมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขต

เฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสกลนคร. วารสารกฎหมายและนโยบายสาธารณสุข. 2564; 7(1): 87-102.

ณัฐริกา พร้อมพูน, กฤษิณี เหลื่อง, วรางคณา คงสวัสดิ์, กฤติญา เส็งนา, ภูษณิศา มีนาเขตร.ความรอบรู้ทางสุขภาพด้านการป้องกันโรคโควิด-19 และพฤติกรรมสุขภาพแบบชีวิตวิถิีใหม่ของนักศึกษาพยาบาล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. วารสารสุขภาพและการพยาบาล มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี. 2565; 1(1): 16-27.

มยุรา เรืองเสรี. ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล และความรู้กับพฤติกรรมการป้องกันการติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของผู้สูงอายุในจังหวัดอุบลราชธานี. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ. 2565; 40(2): 124-33.

ดรัญชนก พันธ์สุมา, พงษ์สิทธิ์ บุญรักษา. ความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมการป้องกันโควิด 19 ของประชาชนในตำบลปรุใหญ่ อำเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา. วารสารศรีนครินทร์เวชสาร. 2564; 36(5): 597-604.

รวิรวิ ถิ่นปรีเปรม, อุมารัตน์ ศิริจรูญวงศ์, วาสนา ศิลางาม. ความรู้และพฤติกรรมการป้องกันตนเองจากการติดเชื้อไวรัสโคโรนาสายพันธุ์ใหม่ 2019 ของนักศึกษาคณะ สาธารณสุขศาสตร์และสิ่งแวดล้อม มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. การประชุมวิชาการระดับชาติและนานาชาติ ครั้งที่ 8 “งานวิชาการรับใช้สังคม” วันที่ 25 มิถุนายน 2564; ณ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ อำเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ. สมุทรปราการ: มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ.

ภัทรชา แป้นนาค. ความสัมพันธ์ระหว่างความรู้ ทัศนคติและพฤติกรรมตามหลักกการดูแลสุขภาพ 3 อ ของวัยรุ่นตอนต้นที่มีน้ำหนักเกินมาตรฐานในเขตกรุงเทพมหานคร [วิทยานิพนธ์วิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิทยาศาสตร์การกีฬา]. กรุงเทพฯ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2561.

ปฐมาภรณ์ อุดานนท์, พเยาวดี แอบไธสง, บารเมษฐ์ ภิราล้ำ. การรับรู้ข่าวสารและพฤติกรรมการป้องกันโรคโควิด 19 หลังการเปลี่ยนผ่านเป็นโรคประจำถิ่นของประชาชนในจังหวัดนครพนม. วารสารวิจัยและพัฒนานวัตกรรมทางสุขภาพ. 2566; 4(1): 127-38.

อภิวดี อินทเจริญ, คันธมาทน์ กาญจนภูมิ, กัลยา ตันสกุล, สุวรรณา ปัตตะพัฒน์. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของประชาชนในเขตเทศบาลเมืองคอหงส์ จังหวัดสงขลา. วารสารการสาธารณสุขชุมชน. 2564; 3(2): 19-30.

กัมปนาท โคตรพันธ์, นิยม จันทร์นวล. ความสัมพันธ์ระหว่างความรอบรู้ด้านสุขภาพกับพฤติกรรมการป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ของประชาชนในจังหวัดมุกดาหาร. การประชุมวิชาการ มอบ.วิจัย ครั้งที่ 16 ภายใต้หัวข้อ “Research and Innovation for SDGs in the Next Normal”. วันที่ 11-12 กรกฎาคม 2565;

ณ มหวิทยาลัยอุบลราชธานี อำเภอเมือง จังหวัดอุบลราชธานี. อุบลราชธานี: มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี.

Poonaklom P, Rungram V, Abthaisong P, PiralamB. Factors Associated with Preventive Behaviors towards Coronavirus Disease (COVID-19) among Adults in Kalasin Province, Thailand. OSIR. 2020; 13(3): 78-89.

Downloads

Published

2024-12-31

How to Cite

Ketpan, P., Asa, P., Pahasup-anan, T., Pibanwong, M., Semangoen, T., Channarong, N., & Chotigawin, R. (2024). Factors Influencing COVID-19 Prevention during Post-Pandemic to Endemic Transition among Health Science Students in Burapha University. Journal of Health Science and Community Public Health, 7(2), 70–80. retrieved from https://he01.tci-thaijo.org/index.php/jhscph/article/view/269190

Issue

Section

Research Articles