การศึกษาฤทธิ์การเพิ่มจำนวนและการเคลื่อนที่ของเซลล์ของสารสกัดสมุนไพร ในเซลล์เคอราติโนไซท์
คำสำคัญ:
การเพิ่มจำนวนเซลล์, การเคลื่อนที่ของเซลล์บทคัดย่อ
บทคัดย่อ
สมุนไพรไทยหลายชนิดมีฤทธิ์ทางชีวภาพในการสมานแผล ซึ่งกระบวนการสมานแผลประกอบด้วยหลายกลไก ได้แก่ การแบ่งตัวของเซลล์เคอราติโนไซท์ การสร้างคอลลาเจน การอักเสบ การต้านอนุมูลอิสระ และการเคลื่อนที่ของเซลล์เพื่อปิดบาดแผล การวิจัยเชิงทดลองนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบฤทธิ์ของสารสกัดสมุนไพรที่กระตุ้นการแบ่งตัวและการเคลื่อนที่ของเซลล์เคอราติโนไซท์ ทำการทดสอบการออกฤทธิ์กระตุ้นการแบ่งตัวและการเคลื่อนที่ของเซลล์เคอราติโนไซท์มนุษย์ (HaCaT Cell) ในสารสกัดสมุนไพรที่มีฤทธิ์สมานแผล 5 ชนิด ได้แก่ ใบเปล้าน้อย (Croton Stellatopilosus) ใบหม่อน (Morus Alba) ผักแพว (Polygonum Odoratum) ผักเป็ดขาว (Alternanthera Sessilis) และผักเบี้ย (Portulaca Oleracea) ผลการศึกษาพบว่าสารสกัดจากสมุนไพรทั้ง 4 ชนิด ยกเว้นสารสกัดจากผักแพว สามารถกระตุ้นการแบ่งตัวของ HaCaT Cell ได้ แตกต่างจากกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญ (p-value<0.05) และสารสกัดผักเบี้ยความเข้มข้น 10 µg/mL สามารถเคลื่อนที่เพื่อเชื่อมต่อบาดแผลได้ 90.29+8.15% ที่เวลา 72 ชั่วโมง ซึ่งดีกว่า Untreated Control (60.01+19.59%) ผลที่ได้จากการวิจัยในครั้งนี้แสดงถึงศักยภาพของสารสกัดผักเบี้ยในการสมานบาดแผล โดยการกระตุ้นการแบ่งตัวและการเคลื่อนที่ของเซลล์เคอราติโนไซท์ เพื่อสมานรอยกรีดของเซลล์
เคอราติโนไซท์ได้ จึงควรทำการศึกษาต่อในแง่กลไกการออกฤทธิ์ เพื่อใช้เป็นข้อมูลสนับสนุนการพัฒนาเป็นผลิตภัณฑ์เพื่อสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการสมานแผล หรือนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในงานด้านอื่นๆต่อไป
คำสำคัญ : การเพิ่มจำนวนเซลล์, การเคลื่อนที่ของเซลล์, ผักเบี้ย
References
ชะอรสิน สุขศรีวงศ์ & ลิ้นจี่ หวังวีระ. (2536). แนวทางใหม่ของการรักษาโรคผิวหนังบริเวณ
ใบหน้า. กรุงเทพฯ: ยูโรปา เพรส.
นิจศิริ เรืองรังสี. (2557). สมุนไพรไทย เล่ม 1. กรุงเทพฯ: บี เฮ็ลตี้.
นาฏศจี นวลแก้ว. (2554). คู่มือปฏิบัติการ 632 307 เภสัชเวช. ขอนแก่น: คณะเภสัชศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ปรียา กุลละวณิชย์ & ประวิตร พิศาลบุตร. (2555). ตำราโรคผิวหนังในเวชปฏิบัติปัจจุบัน
dermatology 2012. กรุงเทพฯ: โฮลิสติก พับลิชชิ่ง.
เปล้าน้อย. (2560). ค้นเมื่อ 10 ธันวาคม 2560, จาก https://medthai.com/เปล้าน้อย
ผักเบี้ย. (2560). ค้นเมื่อ 2 ธันวาคม 2560, จาก https://medthai.com/ผักเบี้ย
ผักเป็ดขาว. (2560). ค้นเมื่อ 2 ธันวาคม 2560, จาก https://medthai.com/ผักเป็ดขาว
ผักแพว. (2560). ค้นเมื่อ 2 ธันวาคม 2560, จาก https://medthai.com/ผักแพว
พีรยุทธ สิทธิไชยากุล. (2552). เอกสารประกอบการสอนวิชาหลักพยาธิวิทยาและนิติเวชศาสตร์ 499303. เชียงใหม่: ภาควิชาพยาธิวิทยาและนิติเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร.
ริสา ชัยศุภรัตน์ ผกาวัลย์ มูสิกพงษ์ & พสุธา ธัญญะกิจไพศาล. (2547). สารสกัดส่วนวุ้นของว่านหางจระเข้กระตุ้นการเพิ่มจำนวนของเซลล์เอ็นยึดปริทันต์ และเซลล์สร้างเส้นใยที่เพาะ
เลี้ยงจากเนื้อเยื่อโพรงฟัน. วารสารทันตแพทยศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 27, 47-57.
วชิราภรณ์ รังพงษ์. (2558). การศึกษาฤทธิ์ทางชีวภาพในหลอดทดลองของสารสกัดจากเห็ด
ขอนขาว. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ความงามและสุขภาพ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
วิทย์ เที่ยงบูรณธรรม. (2531). พจนานุกรมสมุนไพรไทย. กรุงเทพฯ: โอเอสพริ้นติ้งเฮ้าส์.
วิทยา บุญวรพัฒน์. (2554). สารานุกรมสมุนไพรไทย-จีนที่ใช้บ่อยในประเทศไทย. กรุงเทพฯ: สมาคมศาสตร์การแพทย์แผนจีนในประเทศไทย.
สุมิตรา พงษ์ศิริ. [ม.ป.ป.]. บาดแผลและการหายของบาดแผล. เชียงใหม่: ภาควิชาศัลยศาสตร์
ช่องปาก คณะทันตแพทยศาสตร มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
สุรพันธุ์ คุณอมรพงศ์. [ม.ป.ป.]. การอักเสบและการซ่อมแซม. ค้นเมื่อ 10 มิถุนายน 2559,จาก http://.med.cmu.ac.th/dept/patho/Lecture/07-09-inflammation&repair-text.pdf
อพัชชา วงศ์เจริญสถิตย์. (2536). การวิเคราะห์หาปริมาณเปลาโนทอลในใบและเนื้อเยื่อเพาะเลี้ยงของเปล้าน้อย. กรุงเทพมหานคร: ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ไทย.
โอภา วัชรคุปต์ และคณะ. (2550). สารต้านอนุมูลอิสระ (radical scavenging agents). พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: นิวไทยมิตรการพิมพ์.
อรพิน ยงวัฒนา. (2555). ร่างกายมนุษย์. กรุงเทพฯ: สุวีริยาสาส์น.
Afara, I., Sahama, T., & Oloyede, A. (2011). Near infrared for non-destructive testing of articular cartilage. Nondestructive testing of materials and structures, 367-372.
Bandna, D., Neha, S., Dinesh, K., & Kamal, J. (2013) Morus Alba Linn: A Phytopharmacological review. International Journal of Pharmacy and Pharmaceutical Sciences, 5, 14-18.
Chan, K., Islam, M.W., Kamil, M. et al. (2000). The analgesic and anti-inflammatory effects of Portulacaoleracea L. subsp. Sativa (Haw.) Celak.Journal of Ethnopharmacology, 73, 445–451.
Chen, B., Zhou, H., Zhao, W., Zhou, W., Yuan, Q., & Yang, G. ( 2012). Effects of aqueous extract of Portulacaoleracea L. on oxidative stress and liver, spleen leptin, PARα and FAS mRNA expression in high-fat diet induced mice. Molecular Biology Reports, 39, 7981–7988 2012.
Denker, S.P., & Barber, D.L. (2002). Cell migration requires both ion translocation and cytoskeletal anchoring by the Na-H exchanger NHE1. Cell Biology, 159(6), 1087-1096.
Elkhayat, E.S., Ibrahim, S.R.M., & Aziz, M.A. (2008). Portulene an new diterpene from
Portulacaoleracea L. Journal of Asian Natural Products Research, 10, 1039–1043.
Fathi, F.M., Harita, H., Mahmood, A. A., Suzy, S.M., Salmah, I., Zahra, A.A., & Kamal, K. (2011). Acceleration of wound healing activity by Polygonatumodoratum leaf extract in rats. Journal of Medicinal Plant Research, 8(13), 523-528.
Jeong-Hyun, L., Lee, S.Y., Shim, E.S., Kang, H.S. & Pang, S. (2012). Asiaticoside enhances normal human skin cell migration, attachment and growth in vitro wound healing model. Phytomedicin, 19, 1223– 1227
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิทยาศาสตร์สุขภาพและการสาธารณสุขชุมชน (Journal of Health Science and Community Public Health) ข้อความที่ปรากฏในบทความแต่ละเรื่องในวารสารวิชาการเล่มนี้เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียนแต่ละท่านไม่เกี่ยวข้องกับวิทยาลัยการ สาธารณสุขสิรินธรจังหวัดขอนแก่น และคณาจารย์ท่านอื่นๆในวิทยาลัยฯ แต่อย่างใด ความรับผิดชอบองค์ประกอบทั้งหมดของบทความแต่ละเรื่องเป็นของผู้เขียนแต่ละท่าน หากมีความผิดพลาดใดๆ ผู้เขียนแต่ละท่านจะรับผิดชอบบทความของตนเองแต่ผู้เดียว