ความสัมพันธ์ของฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM 2.5) กับผลกระทบระยะยาว (โรคมะเร็งปอด) จากการได้รับสัมผัสบริเวณพื้นที่กรุงเทพมหานคร

Main Article Content

ปรีรชญา ฉายประสาท
อนัญญา ศิริสมบูรณ์
พิมพ์ชนก นาคนคร
สุรางค์พิมล พฤฒพงษ์ปภานิจ
นิธิกร ตันสกุล
ภูมิภัทร ภัทรวิตตากร
ประภาศิริ ถึงแก้ว
ณัฏฐ์นรี กลัดสมบูรณ์
โชติธนินท์ ธีระโกมลวิทย์
เทพสุดา นากดวงตา
กวินลดา ทยานันทน์
จัสธิญส์ ฉัตรไพศาลกุล
ศิรภัสสร บุญมี
ธนิก ศิริสุนทรไพบูลย์

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ


                การเพิ่มขึ้นของเมือง การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ การจราจร และอุตสาหกรรม ก่อให้เกิดปัญหามลพิษทางอากาศ ซึ่งส่งผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของมนุษย์ ทั้งผลกระทบระยะสั้น และผลกระทบระยะยาวอย่างโรคมะเร็งปอด โดยการศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5 และหาความสัมพันธ์ระหว่างฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM 2.5 กับผู้ป่วยโรคมะเร็งปอดบริเวณพื้นที่กรุงเทพมหานคร จากค่าเฉลี่ยฝุ่น PM 2.5 รายปี รายเดือน และรายฤดูกาล เก็บข้อมูลฝุ่นละอองทุก ๆ 1 ชั่วโมง โดยทำการศึกษาเป็นระยะเวลา 5 ปี (พ.ศ. 2561-2565) และค่าเฉลี่ยจำนวนผู้ป่วยโรคทางเดินหายใจรายเดือนและรายฤดูกาล ผลการศึกษาพบว่าปี พ.ศ.2561 มีปริมาณ PM 2.5 สูงสุด (26.75 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร) และปี พ.ศ.2565 มีปริมาณ PM 2.5 ต่ำสุด (22.82 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร) และเมื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยฝุ่นรายฤดูกาลพบว่า ฤดูหนาวมีค่าเฉลี่ย PM 2.5 มากที่สุด รองลงมาคือฤดูร้อน และฤดูฝนตามลำดับ (35.58, 22.60 และ 16.78 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร) ส่วนผู้ป่วยโรคมะเร็งปอดพบมากที่สุดในฤดูร้อน รองลงมาคือฤดูฝน และฤดูหนาว ตามลำดับ และจากการหาค่าความสัมพันธ์ระหว่างฝุ่น PM 2.5 กับผู้ป่วยโรคมะเร็งปอด


โดยการศึกษาค่าสัมประสิทธิ์การตัดสินใจ (R²) แสดงให้เห็นว่าฝุ่นละออง PM 2.5 กับโรคมะเร็งปอดมีความสัมพันธ์กันน้อย (R² ของปี 2563, 2564 และ 2565 =0.16, 0.02 และ 0.19 ตามลำดับ)

Article Details

How to Cite
1.
ฉายประสาท ป, ศิริสมบูรณ์ อ, นาคนคร พ, พฤฒพงษ์ปภานิจ ส, ตันสกุล น, ภัทรวิตตากร ภ, ถึงแก้ว ป, กลัดสมบูรณ์ ณ, ธีระโกมลวิทย์ โ, นากดวงตา เ, ทยานันทน์ ก, ฉัตรไพศาลกุล จ, บุญมี ศ, ศิริสุนทรไพบูลย์ ธ. ความสัมพันธ์ของฝุ่นละอองขนาดเล็ก (PM 2.5) กับผลกระทบระยะยาว (โรคมะเร็งปอด) จากการได้รับสัมผัสบริเวณพื้นที่กรุงเทพมหานคร. วารสาร สปคม. [อินเทอร์เน็ต]. 19 ธันวาคม 2023 [อ้างถึง 14 เมษายน 2025];8(2):251-64. available at: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/iudcJ/article/view/265932
บท
บทความปริทัศน์

References

ณัฐชยา อุ่นทองดี. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันและแก้ไขมลพิษทางอากาศ จากหมอกควันในจังหวัดแม่ฮ่องสอน [ปริญญานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต]. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์; 2556.

อนุสรา รอดธานี. ปริมาณฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน ภายในห้องโดยสารรถโดยสาร

สาธารณะในกรุงเทพฯ [ปริญญานิพนธ์วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต]. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร; 2558.

อินท์ฉัตร สุขเกษม. การพยากรณ์ปริมาณฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5)

จังหวัดนครราชสีมา. นครราชสีมา: สำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 9 นครราชสีมา; 2563.

ณัฐณิชา จันทร์จุลเจิม. การศึกษารูปแบบเชิงพื้นที่และเวลาของฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมโครกรัม ต่อลูกบาศก์ เมตร ในพื้นที่ประเทศไทยด้วยภาพถ่ายดาวเทียมกับข้อมูลจากเว็บไซต์ AirVisual [ปริญญานิพนธ์วิทยาศาสตรบัณฑิต]. พิษณุโลก: มหาวิทยาลัยนเรศวร; 2562.

คณุตม์ ทองพันชั่ง, พนิตา เจริญสุข, วาสนา ลุนสําโรง, สุธิดา อุทะพันธุ์. ความสัมพันธ์ระหว่างฝุ่นละอองขนาดเล็กกับการเข้ารับการรักษาพยาบาลในแผนกผู้ป่วยนอกและการเสียชีวิตด้วยโรคระบบทางเดินหายใจในพื้นที่เขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก ประเทศไทย . นนทบุรี: กองประเมินผลกระทบต่อสุขภาพ, กรมอนามัย; 2564.

สุกัญญา พันธุ, กนิษฐา แก่นบุบผา, ณัฐนันท์ พลอยพรม, ศุษิระ บุตรดี. การประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพจาก

การได้รับฝุ่น PM2.5 ในช่วงฤดูแล้ง จากพื้นที่เทศบาลเมืองมาบตาพุด จังหวัดระยอง. วารสารวิชาการวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์. 2565;14(19):64-82.

สุชณะ บ่อคำ. การศึกษาปริมาณฝุ่นละอองขนาดเล็กกว่า 10 ไมครอนจากกิจกรรมของอุตสาหกรรมบ่อดิน-บ่อทรายที่มีต่อสุขภาพของเด็ก กรณีศึกษาโรงเรียนในตำบลบ้านยาง อำเภอเมือง จังหวัดนครปฐม [ปริญญานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต]. นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร; 2556.

กฤษดา เพ็งอารีย์, พงศ์ธร แสงชูติ, ปรีชา พันธ์มูล, เนตรชนนี ดีนวลพะเนาว์, ปฐมยศ พงษ์ศิริ. การประเมินความเสี่ยงและปริมาณการรับสัมผัสฝุ่นแบบแยกขนาดในร้านอาหารตามสั่งริม ถนนแห่งหนึ่งในจังหวัดนครราชสีมา. วารสารวิชาการ เทคโนโลยี พลังงานและสิ่งแวดล้อม บัณฑิตวิทยาลัย วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม. 2564.8(1):1-10.

วรลักขณ์ วิชพัฒน์. ปัจจัยที่เกี่ยวกับการเสียชีวิต และอัตราการรอดชีวิตในผู้ป่วยโรคมะเร็งปอดชนิด

เซลล์ขนาดไม่เล็กระยะแพร่กระจายที่ได้รับการวินิจฉัยและรักษาทีโรงพยาบาลสระบุรี. วารสารกรมการแพทย์. 2564; 46(1):182-92.

บรรจบ ชุณหสวัสดิกุล, พยงค์ วณิเกียรติ, อัมพร กรอบทอง, กมล ไชยสิทธิ์. ผลต่อสุขภาพของฝุ่นละอองในอากาศขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอนกลไกก่อให้เกิดโรค และการรักษาด้วยการแพทย์ทางเลือก. วารสารการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก. 2563;18(1):187- 202.

สุธารัตน์ หมื่นมี, ศุษิระ บุตรดี. การประเมินความเสี่ยงด้านสุขภาพจากการได้รับฝุ่น PM2.5 จากพื้นที่อุตสาหกรรมใน อำเภอปลวกแดง จังหวัดระยอง. วารสารนเรศวรพะเยา. 2564;14(3):95-110.

กองติดตามประเมินผลสิ่งแวดล้อม [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: สำนักงานนโยบายและแผน ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม; c2022. รายงานตัวชี้วัด "ปริมาณฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน (PM2.5) (2554-2564)"; 2564 [เข้าถึงเมื่อ 18 ตุลาคม 2566]; [ ประมาณ 2 น.]. เข้าถึงได้จาก: http://env_data.onep.go.th/reports/subject/view/114

สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ) [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (ทีดีอาร์ไอ); c2023. ข้อจำกัดในการแก้ไขปัญหาฝุ่น PM2.5; 2566 [เข้าถึงเมื่อ 18 ตุลาคม 2566]; [ ประมาณ 5 น.]. เข้าถึงได้จาก: https://tdri.or.th/2023/03/pm2-5-thailands-solutions/

ออฟฟิศเมท [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: บริษัท ออฟฟิศเมท (ไทย) จำกัด; c2023. ทำไมค่าฝุ่น PM2.5 ถึงพุ่งสูงขึ้นในช่วงหน้าหนาว?; 2565 [เข้าถึงเมื่อ 18 ตุลาคม 2566]; [ ประมาณ 2 น.]. เข้าถึงได้จาก: https://www.ofm.co.th/blog/why-are-pm-25-levels-higher-during-winter/

จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, กลุ่มเฝ้าระวังฝุ่น. เรียนรู้ อยู่กับฝุ่น PM2.5. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2562.

สาวิตรี ภมร. คุณลักษณะของฝุ่นละอองขนาดเล็ก PM10 และ PM2.5 และความสัมพันธ์ของ โรคที่เกี่ยวข้องกับมลพิษทางอากาศ ในพื้นที่เขตสุขภาพที่ 4 [ปริญญานิพนธ์วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต]. กรุงเทพฯ: สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์; 2564.

ออลล์เวล [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: บริษัท ออลล์เวล ไลฟ์ จำกัด; c2023. PM 2.5 ภัยเงียบจากฝุ่นละอองขนาดเล็ก อันตรายมากกว่าที่คุณคิด!; 2566 [เข้าถึงเมื่อ 18 ตุลาคม 2566]; [ ประมาณ 3 น.]. เข้าถึงได้จาก: https://allwellhealthcare.com/pm25/

จักรพันธ์ โพธิพัฒน์, ศุทธินี เมฆประยูร. การประยุกต์ใช้ดัชนีวัดคุณภาพอากาศเพื่อประเมินความเสี่ยงจากมลพิษทางอากาศในเขตชุมชนของเทศบาลเมืองจันทบุรี: รายงานฉบับสมบูรณ์. จันทบุรี: คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยราชภัฏรำไพพรรณี; 2565.

อชิรญา ทองเหม. PM 2.5 ภัยร้ายใกล้ตัว. 2563. ใน: บทความ ความรู้ด้านสุขภาพ เพื่อประชาชน : ภาควิชาอายุรศาสตร์ [อินเทอร์เน็ต]. พิษณุโลก: คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร; c2020- [เข้าถึงเมื่อ 18 ตุลาคม 2566]. [ ประมาณ 2 น.]. เข้าถึงได้จาก: http://www.med.nu.ac.th/dpMed/fileKnowledge/225_2020-06-02.pdf

บุษยามาส ชีวสกุลยง. ฝุ่นควันPM2.5 สาเหตุโรคปอด. 2565. ใน: ข่าวและกิจกรรม [อินเทอร์เน็ต]. เชียงใหม่: คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; c2022- [เข้าถึงเมื่อ 18 ตุลาคม 2566]. [ ประมาณ 2 น.]. เข้าถึงได้จาก: https://www.med.cmu.ac.th/web/news-event/news/pr-news/8626/

Li R, Zhou R, Zhang J. Function of PM2.5 in the pathogenesis of lung cancer and chronic airway inflammatory diseases. Oncol Lett. 2018;15(5):7506-14.

Zhang Z, Zhu D, Cui B, Ding R, Shi X, He P. Association between particulate matter air pollution and lung cancer. Thorax. 2020;75:85-7.