การฟื้นฟูร่างกายโดยการใช้ สารอาหาร และการออกกำลังกายในช่วงภาวะ Post-COVID

Main Article Content

Kanadej Trarungruang

บทคัดย่อ

โควิด19 หรือ COVID-19 เริ่มแพร่ระบาดในเดือนกุมภาพันธ์ ปี พ.ศ. 2563 สามารถติดต่อผ่านการสูดเอา ละอองฝอยที่ไม่สามารถมองเห็นได้ด้วยตาเปล่าเข้าสู่ร่างกาย สภาวะหลังการรักษาโรคจนหายและตรวจไม่พบเชื้อแล้ว แต่ยังคงหลงเหลืออาการอยู่ เรียกกลุ่มอาการเหล่านี้ว่า Post- COVID syndrome ซึ่งอาจมีอาการของโรคอย่างน้อยหนึ่งอาการหรือมากกว่า ซึ่งอาจเป็นอาการที่เคยปรากฏมาก่อน หรือไม่ก็ได้ ทั้งนี้เพื่อฟื้นฟูสภาพร่างกายและจิตใจของ ผู้ป่วย ที่มีอาการ Post- COVID จึงได้รวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ วิธีการ คำแนะนำ เพื่อใช้ในการฟื้นฟูสภาพร่างกาย ของผู้ป่วยรวมไปถึง สภาพจิตใจของผู้ป่วย โดยมุ่งเน้นที่การฟื้นฟูร่างกายโดยใช้การออกกำลังและหลักทางโภชนาการ เพราะร่างกายนั้นสามารถฟื้นฟูได้หลากหลายวิธี ทั้งการ ออกกำลังกาย และ การใช้โภชนาการ การออกกำลังกายจะช่วย ให้ฟื้นฟูุสภาพของปอด และสุขภาพส่วนอื่นๆได้ดีขึ้น  การรับประทาน โภชนาการให้ครบทุกหมู่ รวมไปถึง สารอาหารหลัก(Maconutrient), สารอาหารรอง (Micronutrient) และรูปแบบการรับประทานอาหารประเภทต่าง ๆ เช่น การรับประทานแบบเมดิเตอร์เรเนียน (Mediteranean Diet) การบริโภคแบบมังสวิรัติ เป็นต้น ทั้งนี้การออกกำลังกายและ การรับประทานอาหาร ควรตรวจสอบสุขภาพของตนเอง ความเหมาะสม และ ปรึกษาคำแนะนำจากแพทย์ร่วมด้วย

Article Details

How to Cite
1.
Trarungruang K. การฟื้นฟูร่างกายโดยการใช้ สารอาหาร และการออกกำลังกายในช่วงภาวะ Post-COVID. วารสาร สปคม. [อินเทอร์เน็ต]. 19 ธันวาคม 2023 [อ้างถึง 14 เมษายน 2025];8(2):225-32. available at: https://he01.tci-thaijo.org/index.php/iudcJ/article/view/265778
บท
บทความปริทัศน์

References

จักรพันธุ์ ศิริบริรักษ์, สมจิต พฤกษะริตานนท์. โรคโควิด-19. บูรพาเวชสาร. 2563;7(1):89-95.

Raveendran AV, Jayadevan R, Sashidharan S. Long COVID: An overview. Diabetes & Metabolic Syndrome: Clinical Research & Reviews. 2021;15(3):869-875.

สิทธิชัย ตันติภาสวศิน. ลองโควิด Long COVID. วารสารโรงพยาบาลชลบุรี. 2564;47(1):1-2.

Zawya [Internet]. Dubai: Refinitiv Middle East FZ LLC; c2023. Obesity linked to long Covid-19, RAK hospital study finds; 2021 [cited 2023 May 9]; [about 2 screens]. Available from: https://www.zawya.com/en/life/obesity-linked-to-long-covid-19-rak-hospital-study-finds-iic6ovh9

Sudre CH, Murray B, Varsavsky T, Graham MS, Penfold RS, Bowyer RC, et al. Attributes and predictors of long COVID. Nature Medicine. 2021;27(4):626–31.

King's College London [Internet]. London: King's College London; c2020. New research identifies those most at risk from 'long COVID'; 2020 [cited 2023 May 9]; [about 4 screens]. Available from: https://www.kcl.ac.uk/news/study-identifies-those-most-risk-long-covid

Crook H, Raza S, Nowell J, Young M, Edison P. Long covid-mechanisms, risk factors, and management. BMJ [Internet]. 2021 [cite 2023 May 9]; 374: n1648. Available from: https://www.bmj.com/content/374/bmj.n1648.full

Barbara C, Clavario P, De Marzo V, Lotti R, Guglielmi G, Porcile A, et al. Effects of exercise rehabilitation in patients with long coronavirus disease 2019. Eur J Prev Cardiol. 2022;29(7):e258-e260.

Limcharoensuk W. The study of aerobic physical fitness, quality of life and depression in adolescent at night shift working in Phathumthani province [Internet] [dissertation Master of science Physical therapy]. Phathumthani: Thammasat University; 2019 [cite 2023 May 9]. Available from: http://ethesisarchive.library.tu.ac.th/thesis/2019/TU_2019_5912030532_7304_11377.pdf

Nopp S, Moik F, Klok FA, Gattinger D, Petrovic M, Vonbank K, et al. Outpatient Pulmonary Rehabilitation in Patients with Long COVID Improves Exercise Capacity, Functional Status, Dyspnea, Fatigue, and Quality of Life. Respiration. 2022;101(6):593-601

Benzarti W, Toulgui E, Prefaut C, Chamari K, Saad HB. General practitioners should provide the cardioespiratory rehabilitation’ ‘minimum advice’ for long Covid-19 patients. Libyan J Med. 2022;17(1):1-5.

Prabawa IMY, Silakarma D, Prabawa IPY, Manuaba IBAP. Physical Rehabilitation Therapy for Long COVID-19 Patient with Respiratory Sequelae: A Systematic Review. Maced J Med Sci. 2022;10(F):468-474.

Barrea L, Grant WB, Frias-Toral E, Vetrani C, Verde L, de Alteriis G, et al. Dietary Recommendations for Post-COVID-19 Syndrome. Nutrients. 2022;14(6):1-15.

Storz MA, Lifestyle Adjustments in Long‑COVID Management: Potential Benefits of Plant‑Based Diets. Curr Nutr Rep. 2021;10(4):352-363.