ความไว้วางใจในการปฏิบัติทักษะการพยาบาลโดยไม่ต้องกำกับตามความคาดหวังและที่เป็นจริงของบัณฑิตพยาบาลตามการรับรู้ของอาจารย์พยาบาล

ผู้แต่ง

  • สร้อย อนุสรณ์ธีรกุล คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชธานี วิทยาเขตอุดรธานี
  • สุภาพักตร์ หาญกล้า คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชธานี วิทยาเขตอุดรธานี
  • ณัฏฐากุล บึงมุม คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชธานี วิทยาเขตอุดรธานี
  • อัญชลี อ้วนแก้ว คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชธานี วิทยาเขตอุดรธานี
  • ณัฐวรรณ ชัยมีเขียว คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชธานี วิทยาเขตอุดรธานี
  • วรนุช ไชยวาน คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชธานี วิทยาเขตอุดรธานี

คำสำคัญ:

ความไว้วางใจในการปฏิบัติทักษะ, การศึกษาพยาบาลโดยใช้สมรรถนะเป็นฐาน, อาจารย์พยาบาล, บัณฑิตพยาบาล

บทคัดย่อ

   การศึกษาเชิงพรรณนานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาความไว้วางใจในการปฏิบัติทักษะการพยาบาลโดยไม่ต้องกำกับตามความคาดหวังและที่เป็นจริงของบัณฑิตพยาบาล ตามการรับรู้ของอาจารย์พยาบาล กลุ่มตัวอย่างเป็นอาจารย์พยาบาลในสถาบันการศึกษา จำนวน 15 คน ที่มีประสบการณ์การสอนและนิเทศอย่างน้อย 10 ปี เก็บข้อมูลด้วยเทคนิคเดลฟาย เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามมาตราส่วนประมาณค่า 5 ระดับ ประกอบด้วย 147 ทักษะการพยาบาลที่คาดหวังและที่เป็นจริง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่ามัธยฐานและสถิติการทดสอบ chi-square

    ผลการศึกษาพบว่าการรับรู้ความไว้วางใจในการปฏิบัติทักษะการพยาบาลที่เป็นจริงของบัณฑิตพยาบาลอยู่ในระดับ 3 ถึงระดับ 5 ส่วนใหญ่อยู่ในระดับ 4 จำนวน 105 ทักษะ (71.43%) และอยู่ในระดับ 3 จำนวน 33 ทักษะ (22.45%) และระดับ 5 จำนวน 9 ทักษะ (6.12%) ตามลำดับ ส่วนความไว้วางใจในการปฏิบัติทักษะการพยาบาลที่คาดหวังอยู่ในระดับ 4 จำนวน 19 ทักษะ (12.93%) ถึงระดับ 5 จำนวน 128 ทักษะ (87.07%) และพบว่าสัดส่วนระดับความคาดหวังต่อความไว้วางใจในการปฏิบัติทักษะการพยาบาลสูงกว่าที่เป็นจริง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 สรุปว่าความไว้วางใจในการปฏิบัติทักษะการพยาบาลที่คาดหวังทุกทักษะอยู่ในระดับ 4 ขึ้นไป ซึ่งเป็นระดับที่ยอมรับได้ทั้งหมด ส่วนความไว้วางใจในการปฏิบัติทักษะการพยาบาลที่เป็นจริงยังมีอยู่ในระดับ 3 ซึ่งเป็นระดับที่ยังไม่ยอมรับทางวิชาชีพ ทักษะเหล่านั้นจึงควรได้รับการฝึกปฏิบัติเพิ่มพูนก่อนจบการศึกษา เพื่อความปลอดภัยของผู้รับบริการ

Author Biography

สร้อย อนุสรณ์ธีรกุล, คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชธานี วิทยาเขตอุดรธานี

0819658337

References

คมวัฒน์ รุ่งเรือง และศรินยา พลสิงห์ชาญ. (2562). ผลการเทียบเคียงการปฏิบัติทางการศึกษาที่มีประสิทธิผลในหลักสูตรพยาบาลศาสตรบััณฑิตสำหรับนักศึกษาหลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุรินทร์. ราชาวดีสาร วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี สุรินทร์, 9 (2), 1-11.

พิชญ์สินี มงคลศิริ, จุรีรัตน์ กิจสมพร, สตรีรัตน์ ธาดากานต์, สุลี ทองวิเชียร, สร้อย อนุสรณ์ธีรกุล, วัชรี อมรโรจน์วรวุฒิ, กิตติพร เนาว์สุวรรณ, เพ็ญพักตร์ ลูกอินทร์, กรองแก้ว ราษฎรดี, อัมภิชา นาไวย์, นวลใย พิศชาติ และ ชนม์นิภา ใจดี. (2564). การกำหนดระดับความไว้วางใจให้ปฏิบัติกิจกรรมพยาบาลวิชาชีพ: การศึกษาเบื้องต้นในประเทศไทย. วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข, 31(1), 161-175.

มาเรียม เพราะสุนทร, อารีย์วรรณ อ่วมตานี. (2551). การปฏิบัติบทบาทพยาบาลพี่เลี้ยงของพยาบาลวิชาชีพ. วารสารพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร, 2(2), 15-23.

มูลนิธิพัฒนาการศึกษาบุคลากรสุขภาพแห่งชาติ. (2560). ข้อเสนอแนะการพัฒนาการจัดการศึกษาวิชาชีพสุขภาพเฉพาะประเด็นเพื่อปฏิรูปสถาบันการศึกษาและการเรียนการสอน. สำนักงานพัฒนานโยบายสุขภาพระหว่างประเทศ กระทรวงสาธารณสุข.

ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องมาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาตรี สาขาการพยาบาลศาสตร์ พ.ศ. 2560. (2561, 3 มกราคม). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 135 ตอนพิเศษ 1ง. หน้า 7.

สภาการพยาบาล. (2553). สมรรถนะผู้ประกอบวิชาชีพการพยาบาลและการผดุงครรภ์. ศิริยอดการพิมพ์.

สภาการพยาบาล. (2564). หลักสูตรพยาบาลศาสตรบัณฑิต: หลักสูตรต้นแบบสภาการพยาบาล พ.ศ. 2564. สภาการพยาบาล.

Barnett, J.S., Minnick, A.F, & Norman, L.D. (2014). A description of U.S. post-graduation nurse residency programs. Nursing Outlook, 62(3), 174–184.

Benner, P. (1984). From novice to expert: excellence and power in clinical nursing practice. Addison-Wesley.

Bhuyan, N., Miser, W .F., Dickson, G. M., Jarvis, J. W., Maxwell, L., Mazzone, M., & Tuggy, M. (2014). From family medicine milestones to entrustable professional activities [EPAs]. Annals of Family Medicine, 12(4), 380-381.

Callen, B., Smith, C.M., Joyce, B., Lutz, J., Brown Schott, N., & Block, D. (2013). Teaching learning strategies for the essentials of baccalaureate nursing education for entry level community public health nursing. Public Health Nursing, 30(6), 537-547.

Chang, A., Bowen, J. L., Buranosky, R. A., Frankel, R. M., Ghosh, N., Rosenblum, M. J., & Green, M. L. (2013). Transforming primary care training-patient-centered medical home entrustable professional activities for internal medicine residents. Journal of General Internal Medicine, 28(6), 801–809.

Englander, R., Flynn, T., Call, S., Carraccio, C., Cleary, L., Fulton, T.B., & Aschenbrener, C. A. (2016). Toward defining the foundation of the MD degree: core entrustable professional activities for entering residency. Academic Medicine, 91(10), 1352-1358.

Giddens, J. F., Lauzon Clabo, L., Morton, P. G., Jeffries, P., McQuade Jones, B., & Ryan, S. (2014). Re-envisioning clinical education for nurse practitioner programs: themes from a national leaders’ dialogue. Journal of Professional Nursing, 30(4), 273–278.

Haberlandt, K. (1997). Cognitive psychology. 2nd ed. Needham Heights, MA, US: Allyn & Bacon.

Hauer K. E., Soni, K., Cornett, P., Kohlwes, J., Hollander, H., Ranji, S. R., & O’Sullivan, P. S. (2013). Developing entrustable professional activities as the basis for assessment of competence in an internal medicine residency: a feasibility study. Journal of General Internal Medicine, 28(8), 1110–1114.

Lowden, K., Hall, S., Elloit, D., & Lewin, J. (2011). Employers’ perception of the employability skills of new graduates. Edge Foundation.

Mulder, H., Ten Cate, O., Daalder, R., & Berkven, J. (2010). Building a competency-based workplace curriculum around entrustable professional activities: the case of physician assistant training. Medical Teacher, 32(10), e453-e459.

Pijl-Zieber, E.M., Barton, S., Konkin, J., Awosoga, O., & Caine, V. (2014). Competence and competency-based nursing education: Finding our way through the issues. Nurse Education Today, 34(5), 676–678.

Pittenger, A. L., Chapman, S. A., Frail, C.K., Moon, J. Y., Undeberg, M. R., & Orzoff, J. H. (2016). Entrustable professional activities for pharmacy practice. American Journal of Pharmaceutical Education, 80(4), 1-4.

Royal College of Physicians and Surgeons of Canada [RCPSC]. (2016). Entrustable professional activity (EPA) fast facts. Canmeds Royalcollege Ca.

Rugen, K.W, Speroff, E., Zapatka, S.A., & Brienza, R. (2016). Veterans Affairs inter-professional nurse practitioner residency in primary care: A competency-based program. The Journal for Nurse Practitioners, 12(6), e267–e273.

Ten Cate, O., Chen, H.C., Hoff, R.L., Peters, H., Bok, H., & Vander, Schaafm. (2015). Curriculum development for the workplace using entrustable professional activities (EPAs): AMEE Guide No.99. Medicine Teacher, 37(11), 983-1002.

Ten Cate, O., Hart, D., Ankel, F., Busari, J., Englander, R., Glasgow, N., & Wycliffe Jones, K. (2016). Entrustment decision making in clinical training. Academic Medicine, 91(2), 191-198.

Ten Cate, O., & Young, J.Q. (2012). The patient Handover as an entrustable professional activity: adding meaning in teaching and practice. BMJ Quality & Safety, 21(suppl 1), i9-i12.

Ten Cate, O. (2014). AM last page: what entrustable professional activities add to a competency-based curriculum. Academic Medicine, 89(4), 691.

Ten Cate, O. (2013). Nut and bolts of entrustable professional activities. Journal of Graduate Medical Education, 15(1), 157-158.

Wagner, L. M., Dolansky, M. A., & Englander, R. (2018). Enstrustable professional activities for quality and patient safety. Nursing Outlook, 66(3), 237-243.

Wagner, S. J., & Reeves. S. (2015). Milestones and entrustable professional activities: the key to practically translating competencies for inter-professional education? Journal of Interprofessional Care, 29(5), 507-508.

Wiltse Nicely, K. L., & Fairman, J. (2015). Postgraduate nurse practitioner residency programs: Supporting transition to practice. Academic Medicine: Journal of the Association of American Medical Colleges, 90(6), 707–709.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-29