Nutritional Status of Upper Level Students in Chiang Mai Municipality Primary Schools
Main Article Content
Abstract
Background: Nutritional status is an indicator of a child’s health and is important for their development.
Objective: To explore the nutritional status, knowledge, food consumption behavior and the factors related to the nutritional status of upper level students in Chiang Mai Municipality primary schools,
Material and method: A survey study was undertaken in semester 2/2015 among 508 upper level students from 5 primary schools of Chiang Mai Municipality. All participants were selected by a multi-stage random sampling method. Weight and height were measured and interpreted according to the weight-for-height standards of Thai children to approximate the level of nutritional status. The relation between nutritional status and general data, nutritional status and knowledge level were analyzed by Chi-square test.
Results: The mean age was 11.2 ± 1.0 years (range 9-15) and 51% of participants were male. Most of their parents were employees (47.7%) and 51.4% received the daily pocket money of 41-60 Baht. Most of them had an average-built nutritional status (70.3%), followed by obese (10.8%), rather obese (7.9%), plump (4.9%), rather thin (4.7%) and thin (2.0%). Two-thirds (64.8%) had the moderate level of nutritional knowledge. The nutritional status was significantly related with male gender (p=0.011) and amount of daily pocket money (p=0.005), but not related with the level of nutritional knowledge (p=0.364).
Conclusion: Male gender and the amount of daily pocket money were significantly related to the students’ nutritional status.
Article Details
บทความที่ส่งมาลงพิมพ์ต้องไม่เคยพิมพ์หรือกำลังได้รับการพิจารณาตีพิมพ์ในวารสารอื่น เนื้อหาในบทความต้องเป็นผลงานของผู้นิพนธ์เอง ไม่ได้ลอกเลียนหรือตัดทอนจากบทความอื่น โดยไม่ได้รับอนุญาตหรือไม่ได้อ้างอิงอย่างเหมาะสม การแก้ไขหรือให้ข้อมูลเพิ่มเติมแก่กองบรรณาธิการ จะต้องเสร็จสิ้นเป็นที่เรียบร้อยก่อนจะได้รับพิจารณาตีพิมพ์ และบทความที่ตีพิมพ์แล้วเป็นสมบัติ ของลำปางเวชสาร
References
2. กระทรวงสาธารณสุข, กรมอนามัย, กองโภชนาการ. การสำรวจภาวะอาหารและโภชนาการของประเทศไทยครั้งที่ 5 พ.ศ.2546. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์องค์การรับส่งสินค้าและพัสดุภัณฑ์; 2549.
3. ลัดดา เหมาะสุวรรณ. ภาวะโภชนาการของเด็ก. ใน: วิชัย เอกพลากร, บรรณาธิการ. รายงานการสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกายครั้งที่ 4 พ.ศ.2551-2552: สุขภาพเด็ก. นนทบุรี:เดอะกราฟิโกซิสเต็มส์; 2554. หน้า 103-25.
4. วิชัย เอกพลากร, บรรณาธิการ. รายงานการสำรวจการบริโภคอาหารของประชาชนไทย การสำรวจสุขภาพประชาชนไทยโดยการตรวจร่างกาย ครั้งที่ 4 พ.ศ.2551-2. นนทบุรี:สำนักงานสำรวจสุขภาพประชาชนไทย สถาบันวิจัยระบบสาธารณสุข; 2554.
5. กระทรวงสาธารณสุข, กรมอนามัย, กองแผนงาน. รายงานประจำปี กรมอนามัย 2559. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก; 2560.
6. กระทรวงสาธารณสุข, กรมอนามัย, กองโภชนาการ. แนวทางการดำเนินงานเฝ้าระวังการเจริญเติบโตของเด็กอายุ 6-18 ปี. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย; 2552.
7. กระทรวงสาธารณสุข, สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข, สำนักนโยบายและยุทธศาสตร์.ยุทธศาสตร์ตัวชี้วัดและแนวทางการจัดเก็บข้อมูลกระทรวงสาธารณสุข ปีงบประมาณ พ.ศ.2559. นนทบุรี:สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข; 2558.
8. กัมปนาท คำสุข, นัตยา ศรีตะวัน, สุธิดา พื้นแสน, นารีลักษณ์ ตั้งศรีศักดา. ภาวะโภชนาการของเด็กนักเรียนในโรงเรียนบ้านหนองยาว อำเภอปากช่อง จังหวัดนครราชสีมา [อินเทอร์เน็ต]. 2559 [สืบค้นเมื่อ 23 พ.ค.2560]. เข้าถึงได้จาก: http://www.northern.ac.th/north_research/p/document/file_14909481030.docx
9. ลัดดา เหมาะสุวรรณ, อุไรพร จิตต์แจ้ง, บรรณาธิการ. คู่มือเครื่องชี้วัดทางโภชนาการและโรคที่เกี่ยวข้อง. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึกในพระบรมราชูปถัมภ์; 2555.
10. สุธี สฤษฎ์ศิริ. ภาวะโภชนาการของนักเรียนโรงเรียน เขตทวีวัฒนา กรุงเทพมหานคร. วารสารสาธารณสุขศาสตร์ 2555;42(1):78-89.
11. รุ่งนภา สูตินันท์โอภาส. ภาวะโภชนาการกับพฤติกรรมการบริโภคของนักเรียนระดับประถมศึกษา โรงเรียนสังกัดเทศบาลเมืองลำปาง. ใน: เอนก ชิตเกษร, บรรณาธิการ. Proceedings of the Payap University Research Symposium 2016; 12 กุมภาพันธ์ 2559; เชียงใหม่. เชียงใหม่:สำนักวิจัย มหาวิทยาลัยพายัพ. หน้า 1009-16.
12. กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสูตรประถมศึกษาพุทธศักราช 2521 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ 2533). พิมพ์ครั้งที่ 3. กรุงเทพฯ:โรงพิมพ์คุรุสภา; 2537.
13. ไกรสิทธิ์ ตันติศิรินทร์. องค์ความรู้ด้านอาหารและโภชนาการสำหรับทุกช่วงวัย. นนทบุรี:สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา; 2559.
14. ลัดดา เหมาะสุวรรณ, ศิริกุล อิศรานุรักษ์, นิชรา เรืองดารกานนท์, สุธรรม นันทมงคลชัย, ภัทรา สง่า, กัลยา นิติเรืองจรัส และคณะ. หนังสือชุดโครงการวิจัยพัฒนาการแบบองค์รวมของเด็กไทย เล่ม 1: เด็กไทยวันนี้เป็นอยู่อย่างไร. สงขลา:ลิมบราเดอร์สการพิมพ์; 2547.
15. รุ่งฟ้า โต๊ะถม. ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์พฤติกรรมการบริโภคอาหารนอกรั้วโรงเรียนของนักเรียนในสังกัดสำนักงานเขตบางกอกน้อย กรุงเทพมหานคร. Veridian E-Journal, Slipakorn University ฉบับภาษาไทย สาขามนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์และศิลปะ 2558;8(3):781-92.