การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะเท้าแบนและการทรงตัวในผู้หญิงอายุ 18 - 25 ปี

ผู้แต่ง

  • พนิดา ไชยมิ่ง สาขาวิชากายภาพบำบัด คณะวิทยาศาสตร์การแพทย์ วิทยาลัยนครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา ประเทศไทย
  • จันทิมา ศรีนวล สาขาวิชากายภาพบำบัด คณะวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยคริสเตียน นครปฐม ประเทศไทย
  • พรรณทิพย์ เกิดแก้ว สาขาวิชากายภาพบำบัด คณะวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยคริสเตียน นครปฐม ประเทศไทย
  • พรรณวดี พูลสวัสดิ์ สาขาวิชากายภาพบำบัด คณะวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยคริสเตียน นครปฐม ประเทศไทย
  • สุนทรี พรมศรี สาขาวิชากายภาพบำบัด คณะวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยคริสเตียน นครปฐม ประเทศไทย
  • อรวรรณ ต้นจำปา สาขาวิชากายภาพบำบัด คณะวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยคริสเตียน นครปฐม ประเทศไทย
  • อิชยา โตแทน สาขาวิชากายภาพบำบัด คณะวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยคริสเตียน นครปฐม ประเทศไทย
  • ทิพย์สุดา บานแย้ม สาขาวิชากายภาพบำบัด คณะวิทยาศาสตร์สุขภาพ มหาวิทยาลัยคริสเตียน นครปฐม ประเทศไทย

คำสำคัญ:

ภาวะเท้าแบน, การทรงตัว

บทคัดย่อ

บริบท เท้าเป็นอวัยวะส่วนหนึ่งที่สำคัญของร่างกาย เพราะมีหน้าที่รับน้ำหนักร่างกายทั้งหมดขณะยืน เดิน หรือวิ่ง
ซึ่งการลงน้ำหนักที่เท้าเป็นระยะเวลานานๆ ซ้ำๆ เป็นประจำ อาจส่งผลให้เกิดอุ้งเท้าบริเวณฝ่าเท้าลดลงหรือเกิด
ภาวะเท้าแบน และส่งผลให้การกระจายน้ำหนักบนฝ่าเท้าเปลี่ยนแปลงไป
วัตถุประสงค์ ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะเท้าแบนในระดับที่ 1 และระดับที่ 2 ต่อการทรงตัวขณะอยู่นิ่ง
(static balance) และการทรงตัวขณะเคลื่อนไหว (dynamic balance) ในผู้หญิงอายุ 18 – 25 ปี
วิธีการศึกษา พิมพ์เท้าผู้หญิงอายุ 18 – 25 ปี จำนวน 50 คน เพื่อแบ่งกลุ่มเป็นผู้ที่มีภาวะเท้าแบนในระดับที่ 1
และระดับที่ 2 หลังจากนั้นทดสอบการทรงตัวขณะอยู่นิ่ง one leg standing (OLS) และขณะเคลื่อนไหวด้วย
multiple directional reach test (MRT) โดยใช้สถิติ Pearson correlation หาความสัมพันธ์ระหว่างภาวะ
เท้าแบนและการทรงตัว
ผลการศึกษา เท้าแบนในระดับที่ 1 มีความสัมพันธ์ทางลบกับการทรงตัวขณะอยู่นิ่งในระดับมาก (r = -0.916;
p < 0.05); MRT lateral right และ MRT (lateral left มีความสัมพันธ์ทางลบระดับน้อย (r = -0.220, r = -0.259;
p < 0.05 ตามลำดับ ในขณะที่ MRT forward right, MRT forward left, MRT backward right และ MRT
backward left ไม่มีความสัมพันธ์ (r = -0.057, r = -0.046, r = -0.057 และ r = -0.020; p > 0.05 ตามลำดับ
สำหรับเท้าแบนในระดับที่ 2 มีความสัมพันธ์ทางลบกับการทรงตัวขณะอยู่นิ่งในระดับในระดับมาก (r = -0.931;
p < 0.05); MRT lateral right และ MRT lateral left มีความสัมพันธ์ทางลบระดับน้อย (r = -0.225, r = -0.453;
p < 0.05 ตามลำดับ ในขณะที่ MRT forward right และ MRT forward left, MRT backward right และ MRT
backward left ไม่มีความสัมพันธ์ (r = - 0.106, r = -0.124, r = -0.026 และ r = -0.151; p > 0.05 ตามลำดับ
สรุป เท้าแบนในระดับที่ 1 และเท้าแบนในระดับที่ 2 มีความสัมพันธ์กับการทรงตัวขณะอยู่นิ่งไปในทางลบอย่าง
มาก และมีความสัมพันธ์กับการทรงตัวขณะเคลื่อนไหวไปในทางลบกับทิศทางด้านข้างเล็กน้อย สำหรับการทรงตัว
ขณะเคลื่อนไหวไปในทิศทางอื่นๆ ไม่พบความสัมพันธ์

References

1. Chougala A, Phanse V, Khanna E, &
Panda S. Screening of body mass index
and functional flatfoot in adult: an
observational study. Int J Physiother Res.
2015; 3: 37-41. https://doi.org/10.16965/
ijpr.2015.133
2. ไชยยงค์ จรเกตุ, จุฑาลักษณ์ กองสุข, สุภัสสร
วรรณอ่อน, สุธาสินี คณฑา, และเสาวลักษณ์
สังข์ภาษี. การเปรียบเทียบความสามารถในการ
ควบคุมการทรงตัวขณะยืนนิ่งและขณะเคลื่อนไหว
ในเพศชายที่มีฝ่าเท้าแบนและฝ่าเท้าปกติอายุ
ระหว่าง 18-25 ปี. วารสารกายภาพบ�ำบัด. 2557;
36: 79-88.
3. พิมลพรรณ ทวีการ และคุณาวุฒิ วรรณจักร. เท้า
แบนกับอาการปวดเข่า. บูรพาเวชสาร. 2561; 5:
104-12.
4. ปรัชญาพร เปรมกมล, ปกรณ์ วิวัฒน์วงศ์วนา, และ
จักรกริช กล้าผจญ. การศึกษาเปรียบเทียบวิธีตรวจ
ลักษณะอุ้งเท้าระหว่างภาพถ่ายจาก podoscope
และภาพพิมพ์รอยเท้าในผู้ที่มีเท้าปกติและเท้า
แบน. เวชศาสตร์ฟื้นฟูสาร. 2553; 20: 10-4.
5. มหัครพร พลเยี่ยม. ความเชื่อถือได้ภายในตัวผู้
ทดสอบและระหว่างผู้ทดสอบของการประเมิน
ลักษณะฝ่าเท้าจากภาพถ่ายรอยเท้าที่ได้จาก
เครื่องโพโดสโคปในผู้ป่วยเบาหวาน. วารสาร
กายภาพบ�ำบัด. 2556; 35: 120-6.
6. Lee MS, Vanore JV, Thomas JL, Catanzariti
AR, Kogler G, Kravitz SR, et al. Diagnosis and
Treatment of Adult Flatfoot. The journal
of foot & ankle surgery. 2005; 44: 79-109.
https://doi.org/10.1053/j.jfas.2004.12.001
7. ทรงพจน์ ตันประเสริฐ, อรรถฤทธิ์ ศฤงคไพบูลย์,
และเสก อักษรานุเคราะห์. การศึกษาเปรียบเทียบ
ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อกลุ่มบิดข้อเท้าเข้าและ
กลุ่มบิดข้อเท้าออกในคนที่มีเท้าแบนและคนที่มี
เท้าปกติในโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์. เวชศาสตร์
ฟื้นฟูสาร. 2542; 9, 13-7.
8. Kulig K, Reischl SF, Pomrantz AB, Burnfield
JM, Mais-Requejo S, Thordarson DB, et al.
Nonsurgical management of posterior tibial
tendon dysfunction with orthoses and
resistive exercise: a randomized controlled
trial. Phys Ther. 2009; 89: 26-37.
9. ผาสุก มหรรฆานุเคราะห์. มหากายวิภาคศาสตร์
การเคลื่อนไหว. กรุงเทพฯ: พี.บี. ฟอเรนบุ๊คส์
เซนเตอร์; 2547. หน้า 188-300.
10. ผาสุก มหรรฆานุเคราะห์. ระบบการเคลื่อนไหว
(LOCOMOTIVE SYSTEM). เชียงใหม่: ภาควิชา
กายวิภาคศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัย
เชียงใหม่; 2557. หน้า 285-321.
11. สุมิตตา ชัยบุญเมือง, จีราภา สุดเอื้อม, สาทินี สุ
พิมพ์, วารุณี คงผล, ชลลดา นาเวศน์, รัศมี ศรีสัตย
เสถียร, และสุภรัศมิ์ เงินสุทธิวรกุล. ความสัมพันธ์
ของ Navicular drop , calcaneal angle กับ
มุม Q-angle ในวัยรุ่นหญิงไทยอายุระหว่าง 18-
25 ปี [ภาคนิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร์บัณฑิต].
มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ. 2554.
12. Murley GS, Landorf KB, Meanz HB.
A protocal for classifying normal and
flat-arched foot posture for research
studies using clinical and radiographic
measurements. J Foot Ankle Res. 2009;
2: 22.
13. สมนึก กุลสถิตพร. กายภาพบ�ำบัดในผู้สูงอายุ.
พิมพ์ครั้งที่2. กรุงเทพฯ: ออฟเซ็ท เพรส; 2549.
หน้า 149-179.
14. Tsai LC, Yu B, Mercer VS, Gross MT.
Comparison of different structural foot
types for measures of standing postural
control. J Orthop Sports Phys Ther. 2006;
36: 942–53.
15. Tachdjian MO. The foot and ankle. In:
Clinical pediatric orthopedics: the art of
diagnosis and principles of management,
Stamford: Appleton-Lange. 1997; 24-35.
16. สุจิตรา บุญหยง. ผลของการเสริมอุ้งเท้าด้านในต่อ
รูปแบบการกระจายของแรงใต้ฝ่าเท้าในเท้าแบน
ที่ปรับตัวได้และไม่มีอาการ [ภาคนิพนธ์ปริญญา
วิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต]. มหาวิทยาลัยมหิดล.
2545.
17. นลัท อุตสาหฉันท์, สุจญดา กิ่งหมัน, กฤติยา ทรง
ศรี, และณัชชา อิศรางกูร ณ อยุธยา. การเปรียบ
เทียบภาวะเท้าแบนและเท้าปกติในการทรงท่า
แบบอยู่นิ่งและเคลื่อนไหว. วารสารสาธารณสุข
มหาวิทยาลัยบูรพา. 2563; 15: 36-48.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-12-29