อาการปวดต้นคอจากการใช้สมาร์ทโฟน

Main Article Content

พิมลพรรณ ทวีการ วรรณจักร
คุณาวุฒิ วรรณจักร

บทคัดย่อ

บทนำ Text neck syndrome คือ อาการปวดต้นคอที่สัมพันธ์กับท่าทางการใช้สมาร์ทโฟน
วัตถุประสงค์ เพื่อทบทวนชีวกลศาสตร์ของท่าทางขณะใช้งานสมาร์ทโฟนและวิธีการยืดเหยียดกล้ามเนื้อเพื่อ
บรรเทาอาการปวดต้นคอที่อาจเกิดขึ้นจากการใช้งานสมาร์ทโฟน
วิธีการศึกษา ทบทวนและวิเคราะห์บทความที่เกี่ยวข้องกับชีวกลศาสตร์ของท่าทางขณะใช้งานสมาร์ทโฟน และ
วิเคราะห์ความสัมพันธ์ระหว่างอาการปวดคอและท่าทางการใช้งานสามาร์ทโฟนเพื่อนำไปสู่ท่าทางการยืดเหยียด
กล้ามเนื้อ
สรุป เนื่องจากการใช้สมาร์ทโฟนมักจะอยู่ในท่าที่ต้องก้มคอและหลังส่วนบนมากกว่าการใช้คอมพิวเตอร์ ซึ่งการ
ที่ต้องอยู่ในท่าทางที่ผิดปกติแบบนี้เป็นเวลานานๆ นั้น จะส่งผลต่อการทำงานของกล้ามเนื้อคอและบ่าเป็นอย่าง
มาก นอกจากนี้ระยะเวลาในการใช้สมาร์ทโฟนในแต่ละครั้งที่นานและใช้ติดต่อกันหลายครั้งในแต่ละวันก็เป็นอีก
หนึ่งปัจจัยสำคัญที่ทำให้กล้ามเนื้อต้องทำงานหนักและนำมาสู่อาการปวดต้นคอ การยืดเหยียดกล้ามเนื้อบริเวณ
คอและบ่าจึงควรนำมาปฏิบัติเมื่อต้องใช้สมาร์ทโฟนเป็นเวลานานเพื่อป้องกันการเกิดอาการปวดต้นคอ

Article Details

บท
บทความปริทัศน์หรือการทบทวนวรรณกรรม

References

1. Reid S. and Portelli A. The effects of “text
neck” on head repositioning accuracy: A
group comparative study. WCPT Congress
2015 / Physiotherapy 2015; 101: 1238–642.

2. Neupane S, Ifthikar UT, Mathew A. Text
Neck Syndrome - Systematic Review. IJIR.
2017; 3: 141-8.

3. Lee JH. Effects of forward head posture
on static and dynamic balance control. J
Phys Ther Sci. 2016; 28: 274–7.

4. Aroeira RMC, Furlan RMMM, Pertence
AEM, Las Casas EB, Greco M. Relationship
between head posture and lumbar curve
in a sitting position: a biomechanical study.
Fisioter Mov. 2017; 30: 453-61.

5. Xiea YF., Szetob G., Madeleinec P., Tsangb
S. Spinal kinematics during smartphone
texting – A comparison between young
adults with and without chronic neckshoulder pain. Applied Ergonomics. 2018;
68: 160–8.

6. Ravi Shankar Reddy, Jaya Shanker Tedla,
Snehil Dixit & Mohammed Abohashrh .
Cervical proprioception and its relationship
with neck pain intensity in subjects with
cervical spondylosis. BMC Musculoskelet
Disord. 2019; 15; 20: 1-7.

7. Vuillerme N, Pinsault N, and Bouvier B.
Cervical joint position sense is impaired
in older adults. Aging Clin Exp Res. 2008;
20: 355-8.

8. Sajjadi E, Olyaei GR, Talebian S, Hadian
MR, Jalaie S. The effect of forward head
posture on cervical joint position sense.
JPS. 2014; 5: 21-31.

9. Grace P.Y.S., Strakerb L,Raine R. A field
comparison of neck and shoulder postures
in symptomatic and asymptomatic office
workers. Applied Ergonomics. 2002; 33:
75–84.

10. Louw S, Makwela S, Manas L, Meyer L,
Terblanche D, and Brinkcorresponding Y.
Effectiveness of exercise in office workers
with neck pain: A systematic review and
meta-analysis. S Afr J Physiother. 2017;
73: 392-403.