ประสบการณ์การจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชน เป็นฐานของนักศึกษาแพทย์ชั้นปีที่ 2 ที่ สอดคล้องกับคุณลักษณะพึงประสงค์ของ บัณฑิตแพทย์ธรรมศาสตร์

Main Article Content

อภิชา น้อมศิริ
สุภิกา แดงกระจ่าง
สวณี เต็งรังสรรค์
ณฐินี พงศ์ไพฑูรย์สิน
อลิสสา รัตนตะวัน
มานิดา มณีอินทร์
ศิริวรรณ เริงสำราญ

บทคัดย่อ

บทนำ การจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐาน เป็นหนึ่งในวิธีการจัดการเรียนรู้ในหลักสูตรแพทยศาสตรบัณฑิต
ของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ที่มุ่งเน้นให้นักศึกษาแพทย์ได้รับประสบการณ์เรียนรู้เกี่ยวกับ
สุขภาพในทุกมิติตลอดจนบริบทที่เกี่ยวข้องหรือส่งผลกับสุขภาพของประชาชนจากสภาพจริงในชุมชน
วัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาความสอดคล้องระหว่างการจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐานกับคุณลักษณะพึงประสงค์
ของบัณฑิตแพทย์ธรรมศาสตร์
วิธีการศึกษา การศึกษาครั้งนี้เป็นการศึกษาเชิงคุณภาพ โดยศึกษาจากรายงานประสบการณ์การศึกษาชุมชน
โดยกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้เป็นนักศึกษาแพทย์ ชั้นปีที่ 2 ปีการศึกษา 2559 คณะแพทยศาสตร์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ จำนวนทั้งสิ้น 170 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยวิธีการวิเคราะห์เนื้อหา (content analysis)
เพื่อนำมาเปรียบเทียบกับคุณลักษณะพึงประสงค์ของบัณฑิตแพทย์ธรรมศาสตร์
ผลการศึกษา นักศึกษาแพทย์สะท้อนความคิดเห็นถึงสิ่งที่ได้เรียนรู้จากการฝึกปฏิบัติภาคสนามในชุมชนว่า ทำให้
เข้าใจเนื้อหาในตามจุดมุ่งหมายของรายวิชาได้ง่ายอย่างเป็นรูปธรรมมากขึ้น ซึ่งการใช้ชีวิตอยู่ด้วยกันตลอดระยะ
เวลา 9 วัน ยังช่วยเสริมสร้างทักษะทางสังคมให้กับนักศึกษาแพทย์ ผลการเรียนรู้ครั้งนี้ยังเป็นไปตามจุดมุ่งหมาย
ของหลักสูตรและสอดคล้องกับคุณลักษณะพึงประสงค์ของบัณฑิตแพทย์ธรรมศาสตร์ทั้ง 9 ข้อ
สรุป การจัดการเรียนรู้โดยใช้ชุมชนเป็นฐานมีส่วนช่วยเสริมสร้างพัฒนาให้นักศึกษาแพทย์มีคุณลักษณะตรงตาม
คุณลักษณะพึงประสงค์ของบัณฑิตของคณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์

Article Details

บท
นิพนธ์ต้นฉบับ

References

1. Faculty of Medicine, Thammasat university.
Doctor of Medicine program (Modified
2009), Faculty of Medicine, Thammasat
University. Pathumthani: Faculty of
Medicine, Thammasat university; 2009.

2. COMMED, Faculty of Medicine, Khon Kaen
University. A history of joint field practices.
[Internet]. 2016 [accessed December 10,
2020]. Available from: https://kkucommed.
kku.ac.th/?page_id=55.

3. Department of Community Medicine and
Family Medicine, Faculty of Medicine,
Thammasat University. Holistic Health Care
1 Course (MD.251). Pathuthani: Faculty of
Medicine, Thammasat university; 2016.

4. Hatton N, Smith D. Reflection in Teacher
Education: Towards definition and
implementation. Teaching and Teacher
Education. 1995; 11: 33-49.

5. Pholchan T.. Reflection. [Internet]. 2016
[accessed December 10, 2020]. Available
from: http://www.med.nu.ac.th/dpMed/
fileKnowledge/80_2016-12-06.pdf

6. Rithikup W. Community-Based Learning:
Effective Pedagogy Strategies for Teachers
in the 21st Century. Graduate School
Journal Chiang Rai Rajabhat University
2018; 11, 179-91.

7. Siriphonphaibool R., Charoensin W., Udnan
C. and Nathongchai S.. Medical students’
reflection from Community Based Learning
during training at community hospital in
Thai - Myanmar border area. Journal of
Medicine and Health Sciences 2019; 26,
74-84.

8. Kelly L, Walters L, Rosenthal D. Communitybased medical education: Is success a
result of meaningful personal learning
experiences?. Education for Health 2014;
27: 47-50.

9. Powell S, Easton G. Student perceptions
of GP teachers’ role in community-based
undergraduate surgical education: a
qualitative study. JRSM Short Rep 2012;
3: 51.

10. Goodall J. Beyond the ward and waiting
room: A community-based non-clinical
placement programme for Australian
medical students. Medical Teach 2012 34:
12, 1070-4

11. Melaville, A., Berg, A.C. and Blank, M.J.
Community-based learning: engaging
student for success and citizenship.
Washington, D.C.: The Coalition for
Community Schools, Institute for Education
Leadership. 2003; 9-20.

12. Sutthirat C. 80 Innovative learning
management that focuses on learners.
Bangkok: Danex Inter Corporation; 2010.

13. Janjamsai M. Experiential Modeling of
Community Based Learning Case Study:
Integration of Architectural Design Learning
and Low-Income Housing Development.
Phranakhon Rajabhat Research Journal
2015. 10, 143-56.

14. Bayer, B. K. Common sense about teaching
thinking skills. Educational Leadership.
1983; 41: 44-9.

15. Waisurasing L. and Noparoojjinda S. The
development of instructional model using
authentic learning approach to enhance
achievement and critical thinking ability
of nursing students, Boromarajajonani
College of Nursing, Suphanburi. Journal
of Nursing and Education 2011; 4: 63-77.

16. Arkaravichien T. and Ratanasiri A.. Students’
Reflection on Community Medicine
Fieldwork: A Preliminary Study. Srinagarind
Med J 2015; 30, 572-6.

17. Lee SWW, Clement N., Tang N. and Atiomo
W. The current provision of communitybased teaching in UK medical schools:
an online survey and systematic review.
BMJ Open 2014;4: e005696. doi:10.1136/
bmjopen-2014-005696.

18. Ruangpermpoon K., Rongmuang S. and
Nintachan P. Characteristics of Social
Adjustment in Nursing Students. Rama
Nurs J. 2011; 17: 478-92.

19. Kasemsuk S. Teaching social skills
to elementary school. Bangkok:
Srinakharinwirot University; 1992.