ภาวะซึมเศร้าหลังป่วยด้วยโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยสูงอายุ
Main Article Content
บทคัดย่อ
ภาวะซึมเศร้าหลังเป็นโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยสูงอายุนั้น พบได้บ่อยและเป็นภาวะแทรกซ้อน
ทางจิตประสาทที่สำคัญ พบได้ทั้งในระยะเริ่มแรกและระยะหลังของการป่วยเป็นโรคหลอดเลือดสมอง
ภาวะซึมเศร้าหลังเป็นโรคหลอดเลือดสมองสามารถส่งผลกระทบต่อความสามารถของสมอง การฟื้นฟู
สมรรถภาพในระยะยาว คุณภาพชีวิต และการรอดชีวิตของผู้ป่วย บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อทบทวน
สถานการณ์ของภาวะซึมเศร้าหลังเป็นโรคหลอดเลือดสมองในผู้สูงอายุ ผลกระทบของภาวะซึมเศร้า
ปัจจัยที่มีผลต่อภาวะซึมเศร้าหลังเป็นโรคหลอดเลือดสมอง และรูปแบบการดูแลด้านจิตใจแบบลำดับขั้น
สำหรับผู้ป่วยโรคหลอดเลือดสมอง ซึ่งพยาบาลสามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในการวางแผนให้การ
พยาบาล เพื่อป้องกันและลดความรุนแรงของภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุหลังเป็นโรคหลอดเลือดสมอง
Article Details
บทความหรือข้อคิดเห็นใดใดที่ปรากฏในวารสารวิจัยการพยาบาลและวิทยาศาสตร์สุขภาพ เป็นวรรณกรรมของผู้เขียน ซึ่งบรรณาธิการหรือสมาคมศิษย์เก่า ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย และบทความที่ได้รับการตีพิมพ์เผยแพร่ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวิจัยการพยาบาลและวิทยาศาสตร์สุขภาพ
References
2. ช่อผกา สุทธิพงศ์ และศิริอร สินธุ. (2555). ปัจจัยทำนายภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุภายหลังเป็นโรคหลอดเลือดสมองในเขตชุมชนเมือง. Journal of Nursing Science, 30(1), 28-39.
3. วิชชุตา พุ่มจันทร์, ชนกพร จิตตปัญญา และศิริพันธุ์ สาสัตย์. (2557). ปัจจัยคัดสรรที่สัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยภายหลังเกิดโรคหลอดเลือดสมองเฉียบพลัน. วารสารพยาบาลตำรวจ, 6(2), 33-43.
4. สุทธานันท์ ชุนแจ่ม, โสภิณ แสงอ่อน และทัศนา ทวีคูณ. (2554). การสำรวจงานวิจัยที่เกี่ยวกับภาวะซึมเศร้าในประเทศไทย. รามาธิบดีพยาบาลสาร, 17(3), 412-429.
5. Almeida, O.P., & Xiao, J. (2007). Mortality associated with incident mental health disorder after stroke. Australian and New Zealand Journal of Psychiatry, 41(3), 274–281.
6. Amaricai, E., & Poenaru, D.V. (2016). The post-stroke depression and its impact on functioning in young and adult stroke patients of a rehabilitation unit. Journal of Mental Health, 25, 137-141. doi: 10.3109/ 09638237.2015.1022251
7. Ayerbe, L., Ayis, S., Rudd, A.G., Heuschmann, P.U., & Wolfe, C.D.A. (2011). Natural history, predictors, and associations of depression 5 years after stroke: the South London Stroke Register. Stroke, 42, 1907-1911.
8. Broomfield, N.M., Laidlaw, K., Hickabottom, E., Murray, M.F., Pendrey, R., Whittick, J.E., & Gillespie, D.C. (2010). Post-stroke depression: the case for augmented, individually tailored cognitive behavioural
therapy. Clinical Psychology & Psychotherapy,18, 202–217. doi: 10.1002/cpp. 711.
9. Carrà , G., Johnson, S., Bebbington, P., Angermeyer, M.C., Heider, D., Brugha, T.,…Toumi, M. (2012). The lifetime and past-year prevalence of dual diagnosis in people with schizophrenia across Europe: findings from the European Schizophrenia Cohort (EuroSC). European Archives of Psychiatry and Clinical Neuroscience, 262(7), 607–616.
10. Carson, A. J. (2012). Mood disorder as a specific complication of stroke. Journal of Neurology, Neurosurgery & Psychiatry, 83, 859. doi:10.1136/jnnp-2011-301854.
11. Chakraborty, S., Basu, R., Jana, A.K., Banerjee, M., & Sanyal, D. (2016). Prevalence of post stroke depression in male and female patients visiting a rural hospital outpatient. International Journal of Innovative Research in Medical Sciences, 1(6), 294-302.
12. Chau, J.P., Thompson, D.R., Chang, A.M., Woo, J., Twinn, S., Cheung, S.K., & Kwok, T. (2010). Depression among Chinese stroke survivors six months after discharge from a rehabilitation hospital. Journal of Clinical Nursing, 19(21-22), 3042-3050.