มุมมองของบุคลากรสุขภาพต่อการเกิดพลัดตกหกล้มของผู้ป่วยที่เข้ารับการักษา ในโรงพยาบาล การศึกษาเชิงคุณภาพ ณ อาคารสมเด็จพระเทพรัตน์ โรงพยาบาลรามาธิบดี
DOI:
https://doi.org/10.14456/jmu.2022.25คำสำคัญ:
มุมมอง, บุคลากรสุขภาพ, มุมมอง บุคลากรสุขภาพ การพลัดตกหกล้มบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษามุมมองของบุคลากรสุขภาพต่อการเกิดการพลัดตกหกล้มของผู้ป่วยที่เข้ารับการรักษาในหอผู้ป่วยพิเศษของโรงพยาบาลระดับตติยภูมิ ปัจจุบันปัญหาการพลัดตกหกล้มยังคงเป็นปัญหาที่สำคัญและพบได้บ่อยเมื่อผู้ป่วยเข้ารับการรักษาในโรงพยาบาลโดยเฉพาะผู้ป่วยสูงอายุ ถึงแม้หน่วยงานจะมีมาตรการและแนวปฏิบัติในการป้องกันแต่ยังคงพบอุบัติการณ์เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่อง ส่งผลให้เกิดอันตรายชั่วคราวหรือถาวร ระยะเวลาการนอนโรงพยาบาลและค่าใช้จ่ายสูงขึ้น การวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ (Qualitative Research) เป็นการสัมภาษณ์แบบเชิงลึก (In-depth Interview) โดยผู้ให้ข้อมูลเป็นพยาบาลและผู้ช่วยพยาบาลจำนวน 10 คน ซึ่งเคยมีประสบการณ์อยู่ในเหตุการณ์การเกิดการพลัดตกหกล้มในหอผู้ป่วย การวิเคราะห์ข้อมูลส่วนบุคคลวิเคราะห์โดยใช้สถิติบรรยายและข้อมูลจากการสัมภาษณ์ได้นำมาจัดแยกเข้าหมวดหมู่โดยใช้กระบวนการวิเคราะห์แก่นสาระ (Thematic Analysis)
ผลการวิจัยพบว่า แก่นสาระหรือ Theme ของมุมมองของบุคลากรสุขภาพต่ออุบัติการณ์การเกิดพลัดตกหกล้มแบ่งเป็น 2 เรื่อง ได้แก่ Theme “ปัจจัยที่ทำให้เกิดการพลัดตกหกล้ม” ซึ่งมี subtheme ได้แก่ ปัจจัยด้านผู้ป่วย ปัจจัยด้านผู้ดูแล ปัจจัยด้านอุปกรณ์การแพทย์ ปัจจัยด้านกายภาพและสิ่งกีดขวาง และ Theme “มาตรการของโรงพยาบาลที่ทำให้ดีขึ้นกว่านี้ได้” ซึ่งมี subtheme ได้แก่ มาตรการที่ใช้ในปัจจุบัน มาตรการในอนาคตและข้อเสนอแนะ
References
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี งานคุ้มครองผู้รับบริการและควบคุมคุณภาพการบริการรักษาพยาบาล. (2562). ระบบรายงานอุบัติการณ์โรงพยาบาลรามาธิบดี. Retrieved from https://intra8.rama.mahidol.ac.th/ior/
คณะแพทยศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี องค์กรบริหารการพยาบาล. (2562). มาตรฐานการพยาบาล. แนวปฏิบัติในการประเมินและป้องกันความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้มสำหรับผู้ป่วยใน (ผู้ใหญ่). Retrieved from https://intra9.rama.mahidol.ac.th/ramanursing/th/content/26nov2019-1620
จิตสิริ รุ่นใหม่, ดวงกมล มงคลศิลป์, กัลยกร เทียนภู่, และ ณัฏฐพัชร์ ภักดิ์ชัยภูมิ. (2561). การเปรียบเทียบประสิทธิผลของการใช้วิธีป้องกันการพลัดตกหกล้มโดยใช้แบบประเมินแชมป์ร่วมกับการสอนสาธิตและเตียงไร้ขากับแบบประเมินฮัมตี้ดัมตี้ร่วมกับการใช้สื่อประสมและเตียงสัญญาณเตือนหอผู้ป่วยกุมารเวชกรรม โรงพยาบาลสมเด็จพระปิ่นเกล้า. วารสารแพทย์นาวี, 45(1), 139-153. Retrieved from
https://he01.tci-thaijo.org/index.php/nmdjournal/article/view/142807/106895
ฐิติมา ทาสุวรรณอินทร์. (2559). การพลัดตกหกล้มในผู้สูงอายุ. วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, 5(2), 119-131. Retrieved from https://he02.tci-thaijo.org/index.php/ubruphjou/article/view/162418
ทิพย์รัตน์ ผลอินทร์, นารีรัตน์ จิตรมนตรี, และ วิราพรรณ วิโรจน์รัตน์. (2560). ความสัมพันธ์ระหว่างปัจจัยส่วนบุคคล ภาวะสุขภาพ ความกลัวการหกล้มและพฤติกรรมป้องกันการหกล้มของผู้สูงอายุในชุมชน. วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 29(1), 36-50. Retrieved from https://he01.tci-thaijo.org/index.php/CUNS/article/view/87497
นงนุช วงศ์สว่าง, ดนุลดา จีนขาวขำ, ชลธิชา บุญศิริ, สุรินทร์ มีลาภล้น, จารุนันท์ สมบูรณ์สิทธิ์, เพ็ญจมาศ คำธนะ, และ ธานี กล่อมใจ. (2560). ความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อมในบ้านต่อการพลัดตกหกล้มและอุบัติการณ์การพลัดตกหกล้มของผู้สูงอายุ. วารสารอิเล็กทรอนิกส์ Veridian มหาวิทยาลัยศิลปากร (มนุษยศาสตร์สังคมศาสตร์และศิลปะ), 10(3), 2492-2506. Retrieved from https://he02.tci-thaijo.org/index.php/Veridian-E-Journal/article/view/113880
ประสพชัย พสุนนท์. (2558). ความเที่ยงตรงของแบบสอบถามสำหรับงานวิจัยทางสังคมศาสตร์. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทร-วิโรฒ, 18, 375-396. Retrieved from https://ejournals.swu.ac.th/index.php/JOS/article/view/7044
พัชนา เฮ้งบริบูรณ์พงศ์ ใจดี. (2560). ระบบการบริหารแบบลีน : จากแนวคิดสู่การปฏิบัติในงานสาธารณสุขที่สร้างความผูกพันกับชุมชน. วารสารสาธารณสุขมหาวิทยาลัยบูรพา, 12(2). Retrieved from http://ojslib3.buu.in.th/index.php/health/article/view/5760
ศิริลักษณ์ พันธุหงส์, อรสา อุณหเลขกะ, และ สุนันทา ยอดสีมา. (2553/21/07). การวิเคราะห์สังเคราะห์เอกสารย้อนหลังเพื่อป้องกันอุบัติเหตุการพลัดตกหกล้มของผู้ป่วยในโรงพยาบาลจากการมีส่วนร่วมของผู้ป่วยหรือผู้ดูแลในการออกแบบเครื่องหมายความปลอดภัย. Retrieved from https://www2.si.mahidol.ac.th/division/nursing/sins/index.php/research/66-research-2553-04
สอาด พิมพ์ปติมา, อรสา อุณหเลขกะ, ลำปาง พันธุ์จบสิงห์, นุชนาฎ กิติสิน, จีรพันธุ์ คำโสภา, ฉันทนา ธนิสสร, และ อัมพร ซอฐานานุศักดิ์. (2556). การศึกษาปัจจัยเสี่ยงและการประเมินหาระดับความเสี่ยงต่อการพลัดตกหกล้มของผู้ป่วยในงานการพยาบาลผู้ป่วยพิเศษ โรงพยาบาลระดับตติยภูมิ. วารสารสภาการพยาบาล, 20(1), 75-87. Retrieved from https://he02.tci-thaijo.org/index.php/TJONC/article/view/5580
สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข. กองยุทธศาสตร์และแผนงาน. (2560). สรุปรายงานการป่วย 2560. Retrieved from https://bps.moph.go.th/new_bps/sites/default/files/ill_2560_full.pdf
Braun, V., & Clarke, V. (2006). Using thematic analysis in psychology. Qualitative Research in Psychology, 3(2), 77–101. https://doi.org/10.1191/1478088706qp063oa
Clemson, L., Mackenzie, L., Ballinger, C., Close, J. C. T., & Cumming, R. G. (2008). Environmental interventions to prevent falls in community-dwelling older people: a meta-analysis of randomized trials: A meta-analysis of randomized trials. Journal of Aging and Health, 20(8), 954–971. https://doi.org/10.1177/0898264308324672
de Jong, M. R., Van der Elst, M., & Hartholt, K. A. (2013). Drug-related falls in older patients: implicated drugs, consequences, and possible prevention strategies. Therapeutic Advances in Drug Safety, 4(4), 147–154. https://doi.org/10.1177/2042098613486829
Ganz, D., Huang, C., Saliba, D., Miake-Lye, I., Hempel, S., Ganz, D., & Ensrud, K. (2013). Preventing falls in hospitals: a toolkit for improving quality of care. Ann Intern Med, 158(5), 390–396.
Gillespie, L. D., Robertson, M. C., Gillespie, W. J., Sherrington, C., Gates, S., Clemson, L., & Lamb, S. E. (2012). Interventions for preventing falls in older people living in the community. The Cochrane Library, 2021(6). https://doi.org/10.1002/14651858.cd007146.pub3
Healey, F. (2016). Preventing falls in hospitals. BMJ (Clinical Research Ed.), 532, i251. https://doi.org/10.1136/bmj.i251
Hendrich, A. L., Bender, P. S., & Nyhuis, A. (2003). Validation of the Hendrich II Fall Risk Model: a large concurrent case/control study of hospitalized patients. Applied Nursing Research: ANR, 16(1), 9–21. https://doi.org/10.1053/apnr.2003.YAPNR2
Jähne-Raden, N., Gütschleg, H., Wolf, M. C., Kulau, U., & Wolf, K.-H. (2019). Wireless sensor network for fall prevention on geriatric wards: A report. Studies in Health Technology and Informatics, 264, 620–624. https://doi.org/10.3233/SHTI190297
Johnson, M., George, A., & Tran, D. T. (2011). Analysis of falls incidents: Nurse and patient preventive behaviours: Analysis of falls incidents. International Journal of Nursing Practice, 17(1), 60–66. https://doi.org/10.1111/j.1440-172X.2010.01907.x
Komagata, H., Kakinuma, E., Ishikawa, M., Shinoda, K., & Kobayashi, N. (2019). Semi-automatic calibration method for a bed-monitoring system using infrared image depth sensors. Sensors (Basel, Switzerland), 19(20), 4581. https://doi.org/10.3390/s19204581
López-Soto, P. J., García-Arcos, A., Fabbian, F., Manfredini, R., & Rodríguez-Borrego, M. A. (2018). Falls suffered by elderly people from the perspective of health care personnel: A qualitative study. Clinical Nursing Research, 27(6), 675–691. https://doi.org/10.1177/1054773817705532
Miake-Lye, I. M., Hempel, S., Ganz, D. A., & Shekelle, P. G. (2013). Inpatient fall prevention programs as a patient safety strategy: a systematic review: A systematic review. Annals of Internal Medicine, 158(5 Pt 2), 390–396. https://doi.org/10.7326/0003-4819-158-5-201303051-00005
Shinmoto Torres, R., Visvanathan, R., Hoskins, S., van den Hengel, A., & Ranasinghe, D. (2016). Effectiveness of a batteryless and wireless wearable sensor system for identifying bed and chair exits in healthy older people. Sensors (Basel, Switzerland), 16(4), 546. https://doi.org/10.3390/s16040546
Torres, R. L. S., Visvanathan, R., Hoskins, S., van den Hengel, A., & Ranasinghe, D. C. (2016). Effectiveness of a batteryless and wireless wearable sensor system for identifying bed and chair exits in healthy older people. Sensors (Basel, Switzerland), 16(4), 546. https://doi.org/10.3390/s16040546
Wagner, L. M., Damianakis, T., Pho, L., & Tourangeau, A. (2013). Barriers and facilitators to communicating nursing errors in long-term care settings. Journal of Patient Safety, 9(1), 1–7. https://doi.org/10.1097/PTS.0b013e3182699919
Zeimer, H. (2008). Medications and falls in older people. Journal of Pharmacy Practice and Research, 38(2), 148–151. https://doi.org/10.1002/j.2055-2335.2008.tb00823.x
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 Mahidol R2R e-Journal
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.