ภาระของผู้ดูแลหลักผู้ป่วยจิตเภทสูงอายุ : บทความฟื้นฟูวิชาการ

ผู้แต่ง

  • ดุษฎี อุดมอิทธิพงศ์ สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา
  • พิชญา ชาญนคร สถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา
  • ศศิธร เก็มเส็น โรงพยาบาลจิตเวชสงขลาราชนครินทร์

คำสำคัญ:

ผู้ป่วยจิตเภทสูงอายุ, ภาระของผู้ดูแลหลัก

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ : เพื่อทบทวนวรรณกรรมในเรื่องความหมาย ปัจจัย เครื่องมือวัดภาระ และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องกับภาระของผู้ดูแลหลักผู้ป่วยจิตเภทสูงอายุ

วัสดุและวิธีการ : เป็นการทบทวนวรรณกรรมที่เกี่ยวข้องกับภาระของผู้ดูแลหลักผู้ป่วยจิตเภทสูงอายุ จากเอกสารวิชาการ วารสารที่เป็นต้นฉบับและวารสารออนไลน์ ที่ตีพิมพ์ทั้งในและต่างประเทศ โดยใช้คำสำคัญของการค้นหา ได้แก่ ภาระของผู้ดูแลหลัก ผู้ป่วยจิตเภทสูงอายุ จากงานวิจัยแบบทบทวนวรรณกรรม งานวิจัยพัฒนาเครื่องมือ งานวิจัยพรรณนา งานวิจัยทดลอง และงานวิจัยคุณภาพ จำนวน 26 เรื่อง

ผล : ความรู้สึกเป็นภาระเป็นความรู้สึกว่าถูกคุกคามและรบกวนความผาสุกของตนเองเกิดจากสถานการณ์หรือเหตุการณ์ต่าง ๆ ที่ผู้ดูแลต้องเผชิญในการดูแลผู้ป่วยซึ่งเป็นโรคเรื้อรัง ผู้ดูแลหลักจะเป็นบุคคลที่ดูแลช่วยเหลือผู้ป่วยทีมีข้อจำกัดในการดำเนินชีวิตประจำวัน โดยความต้องการได้รับการดูแลช่วยเหลืออย่างต่อเนื่องอย่างน้อย 4 ชั่วโมงต่อวันติดต่อกันเป็นระยะเวลาประมาณ 6 เดือน พบปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาระของผู้ดูแลหลักผู้ป่วยจิตเภทสูงอายุ คือ ระยะเวลาในการดูแล ทัศนคติและพฤติกรรมการดูแลผู้ป่วยจิตเภท และการสนับสนุนทางสังคม

สรุป : ภาระในการดูแลผู้สูงอายุที่เป็นโรคจิตเภท เป็นความยากลำบากที่ผู้ดูแลต้องทำหน้าที่การดูแล จากการทบทวนบทความนี้ จะช่วยสามารถทำให้พยาบาลมีความเข้าใจเกี่ยวกับภาระการดูแล และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาระการดูแลของผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเภทสูงอายุ ได้แก่ เวลาการดูแล ทัศนคติ พฤติกรรมของผู้ดูแลต่อการดูแล และการสนับสนุนทางสังคม รวมทั้งใช้เป็นแนวทางในการดูแลผู้ป่วยจิตเภทสูงอายุ

References

Kapur RL. The burden on the family of a psychiatric patient: Development of an interview schedule. Br J Psychiatry 1981; 138: 332-5.

Montgomery RJ, Gonyea JG, Hooyman NR. Caregiving and the experience of subjective and objective burden. Family Relations 1985; 34(1): 19-26.

Saha S, Chant D, Welham J, McGrath J. A systematic review of the prevalence of schizophrenia. PLoS Medicine 2005; 2: 413-33.

กระทรวงสาธารณสุข. กระจายยารักษาผู้ป่วยโรคจิต 35 รายการที่โรงพยาบาลชุมชน 736 แห่งทั่วประเทศ [online]. Available from: https://www.ryt9.com/s/govh/2004588 [2019 Jun 18].

มาโนช หล่อตระกูล. คู่มือการดูแลผู้มีปัญหาสุขภาพจิตและจิตเวชสำหรับแพทย์. กรุงเทพฯ: บริษัทเรดิเอชั่น; 2544.

ราชบัณฑิตยสถาน. พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2542. กรุงเทพฯ: นานมี บุคส์พับลิเคชันส์; 2546.

United Nations. Population aging. New York: United Nations; 1999.

สุรกุล เจนอบรม. วิสัยทัศน์ผู้สูงอายุและการศึกษานอกระบบสำหรับผู้สูงอายุไทย. กรุงเทพฯ: นิชินแอดเวอร์ไทซิ่งกรุ้ฟ; 2541.

สมภพ เรืองตระกูล. ตำราจิตเวชศาสตร์. พิมพ์ครั้งที่ 7. กรุงเทพฯ: เรือนแก้วการพิมพ์; 2545.

American Psychiatric Association. Diagnostic and statistical manual of mental disorders. 5th edition. Arlington, VA: American Psychiatric Association; 2013.

Lindenmayer JP, Khan A. Psychopathology in the Textbook of schizophrenia. Washington DC: American Psychiatric Publishing; 2006.

อรพรรณ ลือบุญธวัชชัย. การพยาบาลสุขภาพจิตและจิตเวช. กรุงเทพฯ: พิมพลักษณ์; 2549.

ศิริวรรณ คะเนนอก. ผลของโปรแกรมการเตรียมความพร้อมในการดูแลผ็สูงอายุที่เป็นโรคสมองเสื่อมต่อภาระในการดูแลผู้สูงอายุ โรงพยาบาลสวนปรุง จังหวัดเชียงใหม่. [วิทยานิพนธ์]. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2551.

ยุพาพิน ศิรโพธิ์งาม. ญาติผู้ดูแลที่บ้าน: แนวคิดและปัญหาในการวิจัย. รามาธิบดีพยาบาลสาร 2539; 2(1): 84-92.

Prochaska OJ, DiClimente CC. Tran theoretical theory: Toward a more integrative model of change. Psychol Psychother-T 1982; 19(3): 390-5.

รุจา ภู่ไพบูลย์. การพยาบาลครอบครัว. กรุงเทพฯ: อักษรพิทยา; 2540.

Horowitz, A. Sons and daughters as caregivers to older parents: Differences in role performance and consequences. The Gerontologist 1985; 25(6): 612–7.

วิทย์ เที่ยงบูรณธรรม. พจนานุกรม ไทย-อังกฤษ (Thai-English Dictionary). กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์อักษรพิทยา; 2535.

Zarit SH, Todd PA, Zarit JM. Subjective burden of husbands and wives as caregivers: A longitudinal study. Gerontologist 1986; 26: 260-6.

Oberst MT, Hughes SH, Charg AS, McCubbin MA. Self-care burden, stress appraisal and mood among persons receiving radiotherapy. Cancer Nurs 1991; 14(2): 71-8.

Thompson EH, Futterman AM, Gallagher-Thompson D, Rose JM, Lovett SB. Social support and caregiving burden in family caregivers of frail elders. J Gerontol 1993; 48(5): S245-54.

Gwyther LP, George LK. Caregiver for dementia patient: Complex determinant of well-being and burden. Gerontologist 1986; 26(9): 245-9.

Chesla CA. Parents’ illness models of schizophrenia. Arch Psychiatr Nurs 1989; 3: 218-25.

วรรณนิภา บุญระยอง. ภาระของครอบครัวในการดูแลผู้สูงอายุสมองเสื่อม. วารสารพฤฒาวิทยาและเวชศาสตร์ผู้สูงอายุ 2543; 1(1): 11-7.

วิมลรัตน์ ภู่วราวุฒิพานิช, ปิยนุช แจ่มจรัส. ผู้ป่วยสมองเสื่อม: ปัญหาที่พยาบาลควรให้ความสนใจมากขึ้น. วารสารพยาบาลศาสตร์ 2542; 1(4): 25-8.

สรินรัตน์ ตั้งชูรัตน์. เปรียบเทียบภาระและความเครียดของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อมชนิดอัลไซเมอร์ที่เป็นญาติและไม่ใช่ญาติ. [วิทยานิพนธ์]. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2544.

สุทธิชัย จิตะพันธ์กุล. การดูแลผู้ป่วยโรคสมองเสื่อม. ศูนย์ศึกษาวิจัยและบริการทางการแพทย์ แผนกอายุรศาสตร์. กรุงเทพฯ: สภากาชาดไทย: 2543.

Clipp EC, George LK. Psychotropic drug use among caregivers of patients with dementia. J Am Geriatr Soc 1990; 38(3): 227-35.

Pearlin LI, Mullan JT, Semple SJ, Skaff MM. Caregiving and the stress process: An overview of concepts and their measures. Gerontologist 1990; 25: 32-6.

Rolland J. Families illness and disability. New York: Basic Books; 1994.

Weinert C. Social support in cyberspace. Rehabil Nurs 2000; 25: 129-35.

ภัทราภรณ์ ทุ่งคำปัน, สุวิท อินทอง, ขวัญพนมพร ธรรมไทย, ผกาพันธุ์ วุฒิลักษณ์, ชาลินี สุวรรณยศ, ศรัญญา วรรณชัยกุล. คุณภาพชีวิตในผู้ที่เป็นโรคจิตเภท: มุมมองของผู้ป่วยและผู้ดูแล. เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2551.

Schene AH, Tessler RC, Gamache GM. Instruments measuring family or caregiver burden in severe mental illness. Soc Psychiatry Psychiatr Epidemiol 1994; 29(5): 228-40

Jacob M, Frank E, Kupfer DJ, Carpenter LL. Recurrent depression: an assessment of family burden and family attitudes. J Clin Psychiatry 1987; 48: 395-400.

Gopinath PS, Chaturvedi SK. Distressing behaviour of schizophrenics at home. Acta Psychiatr Scand 1992; 86: 185-8.

Birchwood M, Smith J. Specific and non-specific effects of educational intervention for families living with schizophrenia. Br J Psychiatry 1992; 160: 645-52.

Cook JA, Lefley HP, Pickett S, Cohler BJ. Age and family burden among parents of offspring with severe mental illness. Am J Orthopsychiatry 1994; 64(3): 435-47.

Miller F, Dworkin J, Ward M, Barone D. A preliminary study of unresolved grief in families of seriously mentally ill patients. Hosp Community Psychiatry 1990; 41: 1321-5.

Biegel DE, Sales E, Schulz R. Family caregiving in chronic illness. London: Sage Publications; 1991.

Greenberg JS, Greenley JR, McKee D, Brown R, Griffin-Francell C. Mothers caring for an adult child with schizophrenia: the effects of subjective burden on maternal health. Fam Relations 1993; 42: 205-11.

ชนัญชิดาดุษฎี ทูลศิริ, รัชนี สรรเสริญ, วรรณรัตน์ลาวัง. การพัฒนาแบบวัดภาระในการดูแลของผู้ดูแลผู้ป่วยเรื้อรัง. การพยาบาลและการศึกษา 2554; 4:62-75.

Martin-carrasco M, Otermin P, Pérez-Camo V, Pujol J, Aguera L, Martin MJ, et al. EDUCA study: Psychometric properties of the Spanish version of the Zarit Caregiver Burden Scale. Aging Ment Health 2010; 14(6): 705-11.

นพรัตน์ ไชยชำนิ. ผลของการใช้โปรแกรมการดูแลแบบองค์รวมต่อภาระและความสามารถในการดูแลผู้ป่วยจิตเภท [วิทยานิพนธ์]. กรุงเทพฯ: บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2544.

วรางรัตน์ ทะมังกลาง. ศึกษาภาระของผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเภท โรงพยาบาลจิตเวชขอนแก่น. ประชุมวิชาการกรมสุขภาพจิตนานาชาติ ครั้งที่ 8 ประจำปี 2545; กรุงเทพฯ: กรมสุขภาพจิต; 2545.

ศิราณี ศรีหาภาค, โกมาตร จึงเสถียรทรัพย์, คณิศร เต็งรัง. ผลกระทบและภาระการดูแลผู้สูงอายุระยะยาวภายใต้วัฒนธรรมไทย. นนทบุรี: สำนักวิจัยสังคมและสุขภาพ; 2557.

ดุษฎี อุดมอิทธิพงศ์, อัญชุลี เตมียะประดิษฐ์. ความรู้สึกเป็นภาระของผู้ดูแลหลักผู้ป่วยสมองเสื่อม. วารสารสถาบันจิตเวชศาสตร์สมเด็จเจ้าพระยา 2558; 9(1): 13-28.

จารุรินทร์ ปิตานุพงศ์, ชลทิชา เรืองวิริยะนันท์. ความรู้สึกเป็นภาระของผู้ดูแลผู้ป่วยโรคจิตเภทและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง. วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย 2562; 27(2): 95-106.

เสาวนีย์ คงนิรันดร, ดวงใจ วัฒนสินธุ์, ชนัดดา แนบเกษร. ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อภาระการดูแลของผู้ดูแลผู้ป่วยจิตเภท. วารสารการพยาบาลจิตเวชและสุขภาพจิต 2561; 26(2): 127-43.

Yazici E, Karabulut Ü, Yildiz M, Baskan Tekeş S, Inan E, Çakir U, et al. Burden on caregivers of patients with schizophrenia and related factors. Noro Psikiyatr Ars 2016; 53(2): 96-101.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-10-05

ฉบับ

บท

บทความฟื้นฟูวิชาการ