ประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลองของนักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่งในเขตกรุงเทพมหานคร
คำสำคัญ:
ประสบการณ์การเรียนรู้, นักศึกษาพยาบาล, การเรียนรู้ด้วยสถานการณ์จำลองบทคัดย่อ
การวิจัยเชิงพรรณนานี้ มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายประสบการณ์การเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลอง ในรายวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่ 2 ของนักศึกษาพยาบาล มหาวิทยาลัยเอกชนแห่งหนึ่งในกรุงเทพมหานครกลุ่มตัวอย่าง ผู้ให้ข้อมูลหลัก คือ นักศึกษาพยาบาลศาสตร์บัณฑิตชั้นปีที่ 3 ที่ผ่านการสอบภาคทฤษฎีรายวิชาการพยาบาลผู้ใหญ่ 2 จำนวน 11 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง การวิเคราะห์ข้อมูลใช้การวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า นักศึกษาพยาบาลได้ระบุว่าการเรียนรู้โดยใช้สถานการณ์จำลอง 1) มีวัตถุประสงค์ของการเรียนสอดคล้องกับรายวิชา 2) เป็นการพัฒนาความรู้และทักษะปฏิบัติทางการพยาบาล 3) เป็นการเรียนที่สนุก ไม่น่าเบื่อต้องตื่นตัวตลอดเวลา 4) มีการจำลองอุปกรณ์เครื่องใช้ที่ส่งเสริมการเรียนรู้ 5) มีเทคนิคการสอนการที่กระตุ้นการเรียนรู้ ทำให้มีความเข้าใจมากขึ้น 6) มีการสรุปผลการเรียนรู้การสะท้อนคิดและประสบการณ์เชื่อมโยงความรู้จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ 7) ส่งเสริมทักษะที่ไม่ใช่การปฏิบัติการพยาบาลได้แก่การทำงานเป็นทีมและการสื่อสาร และ 8) ส่งเสริมการตัดสินใจทางการพยาบาลและลดความวิตกกังวลขณะให้การพยาบาล นอกจากนั้นให้ข้อเสนอแนะเกี่ยวกับอุปกรณ์และขั้นตอนการดำเนินการทั้งด้านผู้เรียนและผู้สอน
References
Bangkok Thonburi University Measurement Registration Department. (2023). Annual Report. Registration and Grading Department Bangkok Thonburi University. (in Thai)
Chaemchaeng, S., Atthamethakul, W., Nillueam R., & Wongyara, N. (2021). Effects of learning
using virtual simulation situations to the ability to solve nursing problems and confidence in nursing practice for patients with health problems among nursing students. Journal of King Mongkut's College of Nursing Phetchaburi Province, 4(3), 178–194. (in Thai)
Chernikova, O., Heitzmann, N., Stadler, M., Holzberger, D., Seidel, T., & Fischer, F. (2020). Simulation-Based Learning in Higher Education: A Meta-Analysis. Review of Educational Research, 90(4), 1-43.
Crowe, S., Ewart, L., & Derman, S. (2018). The impact of simulation-based education on nursing confidence, knowledge, and patient outcomes on general medicine units. Nurse education in practice, 29, 70-75.
DeCaporale-Ryan, L. N., Dadiz, R., & Peyre, S. E. (2016). Simulation-based learning: From theory to practice. Families, systems & health: the journal of collaborative family healthcare, 34(2), 159–162. https://doi.org/10.1037/fsh0000203
Graneheim, U. H., & Lundman, B. (2004). Qualitative content analysis in nursing research: concepts, procedures and measures to achieve trustworthiness. Nurse education today, 24(2),105-112.
Haukedal, T. A., Reierson, I. Å., Hedeman, H., & Bjørk, I. T. (2018). The impact of a new Pedagogical intervention on nursing students’ knowledge acquisition in simulation-based learning: A quasi-experimental study. Nursing Research and Practice, 1-10.
Kerthu, H. S., & Nuuyoma, V. (2019). Theory-Practice Gap: Challenges Experienced by Nursing Students at the Satellite Campus of a Higher Education Institution in Namibia. International Journal of Higher Education, 8(5), 21-28.
Kim, J., Park, J. H., & Shin, S. (2016). Effectiveness of simulation-based nursing education depending on fidelity: a meta-analysis. BMC medical education, 16(1), 1-8.
Koukourikos, K., Tsaloglidou, A., Kourkouta, L., Papathanasiou, I. V., Iliadis, C., Fratzana, A., & Panagiotou, A. (2021). Simulation in clinical nursing education. Acta Informatica Medica, 29(1), 15–20.
Maurer, K., & Lock, D. (2016). Comparison of learning outcomes for simulation-based and traditional inference curricula in a designed educational experiment. Technology Innovations in Statistics Education, 9(1). https://escholarship.org/uc/item/0wm523b0
Parayat, C., Prewnim, A., Charoenbhakdi, J., & Chaisitisagoun, K. (2023). Learning in Clinical Simulations of Nursing Student during the Covid-19 Pandemic. Journal of Health Sciences Scholarship, 10(2), 44-58. (in Thai)
Pengrachrong, J., Tulapan, P., & Imnam, P. (2022). Lesson Learned: The Process of Teaching and learning by Using Scenarios with High-Fidelity Human Simulation in Teaching Maternal and Newborn Nursing and Midwifery II. Journal of Health Sciences Scholarship, 9(1), 269-287. (in Thai)
Sunarya, C. E. (2018). The effectiveness of high-fidelity simulation towards knowledge and skills in health education: Literature review. Faletehan Health Journal, 5(2), 69-76.
Sinthuchai, S, Ubolwan, K, & Boonsin, S. (2017). Effects of high-fidelity simulation-based learning on knowledge, satisfaction, and self-confidence among the fourth-year nursing students in comprehensive nursing care practicum.
Ramathibodi Nursing Journal, 23(1), 113-27.(in Thai)
Thammakijpirote, K., Maneewong, J., & Sanongyard, J. (2023). Simulation-Based Learning on Critical Thinking of Nursing Students in Thailand: A Systematic Review. The Journal of Boromarjonani College of Nursing, Suphanburi, 6(1), 5-26. (in Thai)
Tutticci, N., Coyer, F., Lewis, P. A., & Ryan, M. (2016). High-fidelity Simulation: Descriptive analysis of student learning styles. Clinical Simulation in Nursing, 12(11), 511-521. https://doi.org/10.1016/j.ecns.2016.07.008
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลำปาง
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารวารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสารวารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือ หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใดๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสารวารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือก่อนเท่านั้น
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสารวิชาการสุขภาพภาคเหนือถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
อนึ่ง ข้อความและข้อคิดเห็นต่างๆ เป็นของผู้เขียนบทความนั้นๆ ไม่ถือเป็นความเห็นของวารสารฯ และวารสารฯ ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยกับข้อความและข้อคิดเห็นใดๆ ของผู้เขียน วารสารฯ ขอสงวนสิทธิ์ในการพิจารณาตีพิมพ์ตามความเหมาะสม รวมทั้งการตรวจทานแก้ไขหรือขัดเกลาภาษาให้ถูกต้องตามเกณฑ์ที่กำหนด