การสร้างกระบวนการทางความคิดของคนในชุมชนในการมีส่วนร่วมอนุรักษ์ผักพื้นบ้าน : กรณีศึกษาบ้านปงป่าเป้า อ.แม่ทะ จ.ลำปาง

ผู้แต่ง

  • walailuck khantha วพบ.นครลำปาง
  • วันวิสาข์ ชูจิตร วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลำปาง
  • จิราพร เป็งราชรอง วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลำปาง
  • สายทิม วงศ์หอม วิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครลำปาง

คำสำคัญ:

ผักพื้นบ้าน, การอนุรักษ์, การสร้างกระบวนการทางความคิด

บทคัดย่อ

                การศึกษาวิจัยนี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วม มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อมูลของผักพื้นบ้านและรูปแบบที่เหมาะสมในการอนุรักษ์ผักพื้นบ้านในชุมชนปงป่าเป้า รวบรวมข้อมูลจากการใช้แบบสำรวจข้อมูลผักพื้นบ้านร่วมกับการสังเกต การออกแบบกระบวนการเรียนรู้โดยใช้การสนทนากลุ่มในเวทีเสวนา 5 ขั้นตอน เพื่อสร้างกระบวนการทางความคิดของคนในชุมชนในการมีส่วนร่วมอนุรักษ์ผักพื้นบ้าน

                 ผลการศึกษา พบว่า ผักพื้นบ้านที่นํามาบริโภคมีทั้งหมด 84 ชนิด จําแนกตามลักษณะของลำต้น แบ่งเป็น 4 ประเภท คือไม้ยืนต้น 14 ชนิด ไม้ล้มลุก 44 ชนิด ไม้พุ่ม 8 ชนิดและไม้เลื้อย 18 ชนิด ชุมชนมีประสบการณ์และเรียนรู้วิธีนําผักพื้นบ้านมาใช้ประโยชน์ในการนำเป็นอาหาร ประโยชน์ในแง่ของสมุนไพรเพื่อการดูแลสุขภาพ และประโยชน์ด้านเศรษฐกิจ รูปแบบที่ส่งเสริมให้มีการอนุรักษ์ผักพื้นบ้านในชุมชน พบว่า การสร้างกระบวนการทางความคิดโดยมีการใช้คำถามที่กระตุ้นให้ร่วมคิดเป็นกลุ่มผ่านเวทีเสวนา 5 ขั้นตอน คือ      1) ทำเจตจำนงให้แจ่มกระจ่าง เพื่อสร้างความเข้าใจ วัตถุประสงค์ และเป้าหมายของการดำเนินงาน   2) สนทนาและใคร่ครวญถึงอนาคตของสังคมที่อาศัยอยู่  3) สร้าง “Sensing” และ “Visioning” 4) เวทีวิชาการเสริมสร้างความรู้เรื่องผักพื้นบ้าน  5) เวทีเสวนาเพื่อสร้างชุมชนที่มีเจตจำนงร่วมในการฟื้นฟู สืบทอด และส่งต่อเรื่องนี้มีความสำคัญที่จะนำไปสู่การขับเคลื่อนการพัฒนาแบบมีส่วนร่วมของชุมชน ทำให้เกิดความร่วมมือในการอนุรักษ์ผักพื้นบ้านของคนในชุมชนและการคิดเป็นกลุ่มจะช่วยให้คิดจัดการปัญหาได้ดีกว่าการคิดเดี่ยว แต่ความรู้ที่เกิดจากกระบวนการคิดควรมีการกำกับ การนำไปปฏิบัติ ร่วมกับการหนุนเสริมพลังทางบวก การให้คุณค่าและงบประมาณเพื่อการบริหารจัดการ รวมถึงการหาแนวทางส่งต่อให้กับคนรุ่นต่อไปเพื่อให้เกิดการคงอยู่ของผักพื้นบ้านในชุมชนอันจะนำสู่การพัฒนาสุขภาวะได้

References

Charoensuk S, Phetkong J, Choolert P. (2016). Effects of teaching approach emphasizing

systemic thinking and public consciousness in Boromarajonani College of Nursing, Chakriraj. Journal of

health science research. 2016;10(2):61-71. (in Thai).

Civic Net Foundation. (2000). Searching for wisdom and imagination. Bangkok: Civic net

foundation. (in Thai).

Khemmani, T. (2015). Teaching science knowledge for effective learning process. Bangkok:

Chulalongkorn University Press. (in Thai).

Issarapan, P. (2011). Situation of Pesticide Illness in Thailand. Documentation of an

academic conference for the surveillance of agricultural chemicals. BIOTHAI. (in Thai)

Ministry of Public Health. (2018). Pulic Health Statistics A.D.2017. (on line), (Retrieved

January 9, 2020). Available at: http://www.pcko.moph.go.th/Health-

Statistics/stratistics60.pdf

National Health Security Office (NHSO).(2019). Thousands of Thai agricultural get sick by

chemicals per year. (on line), (Retrieved January 9, 2020). Available at:

https://www.naewna.com/local/431418

Ngamsiri Y. (2015). Spicies and utilization of local vegetable in Khirimat District, Sukhothi

province. Degree of master science field in biological science academic.

Pibulsongkram Rajabhat University. (in Thai).

Nithitantiwat,P. and Udomsapaya, W (2017). Food consumption behavior among thai

adolescents, Impacts, and Solutions. Journal of phrapokklao nursing college,Vol.28

No.1 January – June 2017. (in Thai).

Panich V. (2015). Transformative Learning. Bangkok: S. R. Printing massproducts company

limited. (in Thai).

Piyasakulkiat P. (2018). Community participation in the development of the elderly quality

of life of thakhae Sub-District Lopburi Province. Romphruek journal, Volume 36 No 3,

(45-65). (in Thai).

Piyawat J. (2009). Revitalizing of native vegetables consumption towards Healthy

Community. Degree of master of science community development. Department of social administration Thammasat University. (in Thai).

Pongutta S. and Kunpeuk W. (2015). Thailand food and nutrition: where are we now? (on

line), (Retrieved April 4, 2020). Available at: http://fhpprogram.org/download/thai-food-and-nutrition-en/

Rola AC, Pingali PL. (1993). Pesticides, rice productivity, and farmers’ health: an economic

assessment. International Rice Research Institute: Manila, Philippines. (on line),

(Retrieved January 9, 2020). Available at: http://dspace.irri.org:8080/

dspace/bitstream/10269/240/2/9712200374_content.pdf

Samutachak P. & Kanjanajittra M. (2014). What drives consumerism in Thai youth?

Thammasat Journal, Volume 33 No 1, 2014 (46-69). (in Thai).

Supannaphum P. (2004). Central local Vegetables Restoration and conservation. Research

report. Office of the higher education commission. (in Thai).

Thai – Pan. (2020). Annual random vegetable inspection results 2020. (on line), (Retrieved

November 3, 2020). Available at: https://www.thaipan.org/wp-

content/uploads/2020/12/thaipan_press_4-12-2563-last.pdf

The office of Agricultural Regulation, Department of Agriculture. (2017). Summary report of

the import of pesticides 2017. (on line), (Retrieved January 9, 2020). Available at:

https://www.thaipan.org/stat/728

Thirapantu C. (2015). Team Learning & Mental Model): Leaders by heart. (on line),

(Retrieved July 2, 2020). Available at:

https://www.facebook.com/Leaderbyheart/photos/pcb.3026859197436807/

/?type=3&theater

Thirapantu C. (2015). The Art of Facilitation: Leaders by heart. (on line), (Retrieved July 2,

. Available at: https://www.facebook.com/Leaderbyheart/posts/

?_tn_=K-R

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-06-11

ฉบับ

บท

บทความวิจัย