รูปแบบการพัฒนาคุณภาพระบบบริการพยาบาลโดยกระบวนการ มีส่วนร่วมของกลุ่มงานวิจัยและพัฒนาการพยาบาล โรงพยาบาลร้อยเอ็ด

ผู้แต่ง

  • มะลิวรรณ อังคณิตย์ โรงพยาบาลร้อยเอ็ด
  • เรวดี สมทรัพย์
  • บุษบา วงค์พิมล

คำสำคัญ:

การพัฒนา, ระบบบริการพยาบาล, การมีส่วนร่วม, กลุ่มงานวิจัยและพัฒนาการพยาบาล

บทคัดย่อ

วิจัยนี้วัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและประเมินผลลัพธ์รูปแบบการพัฒนาคุณภาพระบบบริการพยาบาลโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของกลุ่มงานวิจัยและพัฒนาการพยาบาล ผู้ร่วมวิจัย ได้แก่ ทีมผู้บริหารองค์กรพยาบาล 37 คน คณะกรรมการวิจัยและพัฒนาคุณภาพพยาบาล และคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพการจัดการรายกรณี 34 คน ขั้นตอนวิจัยมี 3 ระยะ คือ เตรียมการพัฒนา ดำเนินการวิจัย และประเมินผลลัพธ์ เก็บข้อมูลโดยการสังเกต สัมภาษณ์เชิงลึก สนทนากลุ่ม สอบถาม ระดมสมองและสะท้อนคิด เครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ และแนวทางสนทนากลุ่ม ระยะเวลาศึกษา 1 มิถุนายน พ.ศ.2559 ถึง 31 สิงหาคม พ.ศ.2562 วิเคราะห์ข้อมูลเชิงปริมาณโดยการแจกแจงความถี่และร้อยละ วิเคราะห์ข้อมูลเชิงคุณภาพโดยการวิเคราะห์เนื้อหา

ผลการศึกษามี  3 ระยะ มีดังนี้ 1) ระยะเตรียมการ ผลวิเคราะห์สถานการณ์การทำวิจัย พบว่า พยาบาลวิชาชีพส่วนใหญ่เคยอบรมและมีประสบการณ์ทำวิจัยแต่ไม่ได้ทำวิจัยต่อเนื่องเพราะภาระงานมาก ขาดความรู้และประสบการณ์ และไม่ได้รับการสนับสนุนจากองค์กร บางส่วนทำวิจัยที่ไม่ใช่วิจัยการพยาบาลจากงานประจำ หรือทำกรณีศึกษาเฉพาะรายจึงนำมาใช้ในการพัฒนาเชิงระบบได้น้อย ปัจจัยที่ส่งผลต่อการทำวิจัย พบว่า ด้านลักษณะงานที่รับผิดชอบ ด้านความก้าวหน้าในตำแหน่งงาน และด้านการสนับสนุนจากกลุ่มการพยาบาล อยู่ในระดับน้อย ส่วนกระบวนการมีส่วนร่วม พบว่า แม้มีโครงสร้างและกำหนดภารกิจชัดเจน แต่ในทางปฏิบัติยังขาดทิศทางนโยบาย ยุทธศาสตร์ในการบริหารจัดการและกระบวนการพัฒนาระบบบริการของกลุ่มงานวิจัยและพัฒนาการพยาบาลที่ชัดเจน 2) ระยะดำเนินการพัฒนารูปแบบ มีการดำเนินการ 3 วงรอบ ดังนี้ 1 สร้างระบบงานและสร้างทีมงาน ได้แก่ การประกันคุณภาพ กำหนดทิศทางการพัฒนางานตามระบบงานพยาบาล และความเชี่ยวชาญพิเศษตาม Service Plan and Excellence Area กรอบงานวิจัยใช้ทฤษฎีระบบ การกำหนดผลลัพธ์ทางการพยาบาลใช้ 7Aspects of care เป็นตัวชี้วัดคุณภาพตามความคาดหวังขององค์กรทั้งระดับพื้นฐาน ต่อเนื่องและต่อยอดงานวิจัย การสร้างทีมและการมอบหมายงาน จัดตั้งศูนย์วิจัยและพัฒนาคุณภาพการพยาบาลเพื่อเป็นศูนย์การเรียนรู้ 2 ปฏิบัติภารกิจตามโครงสร้างของกฎกระทรวง และความคาดหวังของผู้บริหารและผู้รับผลงาน ขอบเขตหน้าที่ในระดับองค์กร ระดับกลุ่มงานการพยาบาล 15 สาขา และระดับหน่วยงานหรือหอผู้ป่วย และ 3 มุ่งเน้นสร้างงานวิจัยและวิชาการเพื่อพัฒนางานการพยาบาล พัฒนาหัวหน้ากลุ่มงานวิจัยและพัฒนาการพยาบาลให้เป็นผู้จัดการโครงการและที่ปรึกษาด้านวิจัย พัฒนาสมรรถนะพยาบาลกลุ่มงานวิจัยและพัฒนาการพยาบาล และพัฒนาศักยภาพพยาบาลพี่เลี้ยงนักวิจัยใน 15 สาขา 3) ระยะประเมินผลลัพธ์ พบว่า ปัจจัยภายนอกที่มีผลต่อการพัฒนา คือ การสนับสนุนของหัวหน้าพยาบาลและผู้นำองค์กรพยาบาลในทุกระดับ ส่วนปัจจัยภายใน คือ กระบวนการมีส่วนร่วม โดยพบว่าทีมพยาบาลแต่ละสาขามีทักษะในการทำวิจัยและนำผลวิจัยมาใช้ในการพยาบาลผู้ป่วยรายโรค มีการผลักดันให้แผนการพัฒนานี้อยู่ในแผนยุทธศาสตร์ของกลุ่มการพยาบาล  มีระบบพัฒนางานประจำสู่งานวิจัย มีพี่เลี้ยงนักวิจัยทุกกลุ่มงาน และมีแนวปฏิบัติการพยาบาลรายโรคจากผลงานวิจัย ผู้รับบริการพึงพอใจ และ การนำใช้รูปแบบที่พัฒนาขึ้นมีความเป็นไปได้ เหมาะสม ถูกต้อง เป็นประโยชน์และพยาบาลพึงพอใจและยอมรับในระดับมาก  ดังนั้นจึงควรนำรูปแบบที่พัฒนานี้ไปใช้สร้างความเข้มแข็งในการพัฒนาคุณภาพระบบบริการพยาบาลโดยกระบวนการมีส่วนร่วมของกลุ่มงานวิจัยและพัฒนาการพยาบาลในทุกกลุ่มงานการพยาบาลต่อไป

References

1. ฟาริดา อิบราฮิม. ปฎิบัติการพยาบาลตามกรอบทฤษฎีการพยาบาล. กรุงเทพมหานคร: สามเจริญพาณิชย์. 2546.
2. พรทิพย์ รัตนวิชัย. การพัฒนารูปแบบการใช้กระบวนการพยาบาลและบันทึกทางการพยาบาล: เพื่อคุณภาพการพยาบาลโรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา. วารสารวิชาการ รพศ/รพท เขต 1 ปีที่6 ฉบับที่1 มกราคม-เมษายน 2547.
3. อัญชลี แก้วสระศรี, รัตนา นิลเลื่อม, ชุลีพร หัตอักษร. การเปลี่ยนแปลงของสังคมและวัฒนธรรมไทยกับแนวโน้มวิชาชีพการพยาบาล.วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ 2560; 37(3):160-169.
4. พวงรัตน์ บุญญานุรักษ์. ระบบบริการพยาบาลเพื่อการประกันคุณภาพ. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 2545; 10 (2): 49-57.
5. ประณีต ส่งวัฒนา. สถานภาพและทิศทางการวิจัยทางการพยาบาล : มุมมองจากประสบการณ์. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ 2552 1(1): 21-27.
6. กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลร้อยเอ็ด. ข้อมูลการรับ-ส่งเวรทางการพยาบาลกลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลร้อยเอ็ด. 2559.
7. กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลร้อยเอ็ด. สถิติตัวชี้วัดกลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลร้อยเอ็ด. 2559.
8. ศูนย์ข้อมูลคุณภาพโรงพยาบาลร้อยเอ็ด. ข้อมูลผลงานทางวิชาการของพยาบาลกลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลร้อยเอ็ด. 2559.
9. Polit, D. F., & Hungler, B. P. Nursing Research: Principles and Methods (6th ed.). Philadelphia: J. B. Lippincott. 2001.
10. วิจารณ์ พานิช. การบริหารงานวิจัย แนวคิดจากประสบการณ์ (พิมพ์ครั้งที่ 3) กรุงเทพ:สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. 2546.
11. ชุติกาญจน์ หฤทัย. ทิศทางการพัฒนาระบบงานวิจัยและพัฒนาการพยาบาล. เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพพยาบาลผู้รับผิดชอบงานด้านวิจัยและวิชาการ กลุ่มงานวิจัยและพัฒนาการพยาบาล วันที่ 28 – 29 สิงหาคม 2562 กองการพยาบาล สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ณ โรงแรมมารวยการ์เด้น กรุงเทพมหานคร. 2562.
12. ธีรพร สถิรอังกูร. ก้าวต่อไปของกลุ่มงานวิจัยและพัฒนาการพยาบาล. เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพพยาบาลผู้รับผิดชอบงานด้านวิจัยและวิชาการ กลุ่มงานวิจัยและพัฒนาการพยาบาล วันที่ 28 – 29 สิงหาคม 2562 กองการพยาบาล สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ณ โรงแรมมารวยการ์เด้น กรุงเทพมหานคร. 2562.
13. สํานักการพยาบาล สํานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข. การประกันคุณภาพการพยาบาล: การประเมินคุณภาพการบริหารการพยาบาล. พิมพ์ที่บริษัทสามเจริญพาณิชย์ (กรุงเทพ) จำกัด; 2554.
14. จันทร์จิรา อินจีน. การมีส่วนร่วมของชุมชนในการวางแผนแก้ไขปัญหาสุขอนามัยบ้านทุ่งต้นศรีตำบลห้วยลาน อำเภอดอกคำใต้ จังหวัดพะเยา.วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข. 2555 22(1):2-10.
15. บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร. (2545). ระเบียบวิธการวิจัยทางพยาบาลศาสตร์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
16. Evan, D. (2001). “Systemic reviews of nursing research: development of a conceptual
framework.” Unpublished PhD dissertation. Department of Clinical Nursing, Adelaide
University, Australia.
17. Kemmis S & McTaggart R. (Eds). The action research reader. Victoria: Deakin University; 1990.
18. วิไลพรรณ สมบุญตนนท์. การพัฒนาคุณภาพการพยาบาลกับการวิจัย. วารสารกองการพยาบาล 2547 31(1): 96-102.
19. ปราณี อ่อนศรี. แนวทางการพัฒนาศักยภาพด้านการวิจัยในวิชาชีพพยาบาลยุคประเทศไทย 4.0.วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก ราชเทวี กรุงเทพฯ.
20. วัชรีย์ แสงมณี, ยุพิณ วัฒนสิทธิ์, นิตยา ไกรวงศ์, อุมาพร ปุญญโสพรรณ. อุปสรรคในการใช้ผลงานวิจัยทางการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลสงขลานครินทร์. สงขลานครินทร์เวชสาร 2549 24(6); 537-547.
21. Rogers EM, Diffusion of innovation. 4th ed. New York:The Free Press; 1995.
22. อรทัย ชนมาสุข และสมจิต แดนสีแก้ว. การมีส่วนร่วมของสตรีที่แต่งงานข้ามวัตนธรรมในการส่งเสริมสุขภาพชุมชน. วารสารสมาคมพยาบาลฯ สาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 31(2); 123-131.
23. ปัทมา วงษ์กียู้, วงเดือน สุวรรณคีรี, ณิชกานต์ ทรงไทย.ผลของโปรแกรมส่งเสริมการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกต่อการปฏิบัติของพยาบาลและการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะที่สัมพันธ์กับการคาสายสวนปัสสาวะในหอผู้ป่วยวิกฤติอายุรกรรม. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ 2562 37(2); 26-35.
24. อนุชตรา วรรณเสวก และคณะ. กลยุทธ์การเสริมสร้างสมรรถนะพยาบาลผู้ปฏิบัติงานด้านโรคมะเร็งในโรงพยาบาลมะเร็ง สังกัดกรมการแพทย์. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ 2562 37(2); 45-54.
25. ธีรพร สถิรอังกูร, ขวัญนภา ขวัญสถาพรกุล. การพัฒนาระบบบริการพยาบาลโดยผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงในสถานบริการสุขภาพ. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ 2557 32(2); 170-180.
26. Chaiphibalsarisdi P. Quality Nursing Administration : Voices of Experienced Nursing Directors from Hospital in Bangkok Metropolis. Journal of Nursing Science Chulalongkorn University 2007; 19(2) May-August: 142-159.

1. ฟาริดา อิบราฮิม. ปฎิบัติการพยาบาลตามกรอบทฤษฎีการพยาบาล. กรุงเทพมหานคร: สามเจริญพาณิชย์. 2546.
2. พรทิพย์ รัตนวิชัย. การพัฒนารูปแบบการใช้กระบวนการพยาบาลและบันทึกทางการพยาบาล: เพื่อคุณภาพการพยาบาลโรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา. วารสารวิชาการ รพศ/รพท เขต 1 ปีที่6 ฉบับที่1 มกราคม-เมษายน 2547.
3. อัญชลี แก้วสระศรี, รัตนา นิลเลื่อม, ชุลีพร หัตอักษร. การเปลี่ยนแปลงของสังคมและวัฒนธรรมไทยกับแนวโน้มวิชาชีพการพยาบาล.วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ 2560; 37(3):160-169.
4. พวงรัตน์ บุญญานุรักษ์. ระบบบริการพยาบาลเพื่อการประกันคุณภาพ. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 2545; 10 (2): 49-57.
5. ประณีต ส่งวัฒนา. สถานภาพและทิศทางการวิจัยทางการพยาบาล : มุมมองจากประสบการณ์. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ 2552 1(1): 21-27.
6. กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลร้อยเอ็ด. ข้อมูลการรับ-ส่งเวรทางการพยาบาลกลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลร้อยเอ็ด. 2559.
7. กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลร้อยเอ็ด. สถิติตัวชี้วัดกลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลร้อยเอ็ด. 2559.
8. ศูนย์ข้อมูลคุณภาพโรงพยาบาลร้อยเอ็ด. ข้อมูลผลงานทางวิชาการของพยาบาลกลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลร้อยเอ็ด. 2559.
9. Polit, D. F., & Hungler, B. P. Nursing Research: Principles and Methods (6th ed.). Philadelphia: J. B. Lippincott. 2001.
10. วิจารณ์ พานิช. การบริหารงานวิจัย แนวคิดจากประสบการณ์ (พิมพ์ครั้งที่ 3) กรุงเทพ:สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. 2546.
11. ชุติกาญจน์ หฤทัย. ทิศทางการพัฒนาระบบงานวิจัยและพัฒนาการพยาบาล. เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพพยาบาลผู้รับผิดชอบงานด้านวิจัยและวิชาการ กลุ่มงานวิจัยและพัฒนาการพยาบาล วันที่ 28 – 29 สิงหาคม 2562 กองการพยาบาล สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ณ โรงแรมมารวยการ์เด้น กรุงเทพมหานคร. 2562.
12. ธีรพร สถิรอังกูร. ก้าวต่อไปของกลุ่มงานวิจัยและพัฒนาการพยาบาล. เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพพยาบาลผู้รับผิดชอบงานด้านวิจัยและวิชาการ กลุ่มงานวิจัยและพัฒนาการพยาบาล วันที่ 28 – 29 สิงหาคม 2562 กองการพยาบาล สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ณ โรงแรมมารวยการ์เด้น กรุงเทพมหานคร. 2562.
13. สํานักการพยาบาล สํานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข. การประกันคุณภาพการพยาบาล: การประเมินคุณภาพการบริหารการพยาบาล. พิมพ์ที่บริษัทสามเจริญพาณิชย์ (กรุงเทพ) จำกัด; 2554.
14. จันทร์จิรา อินจีน. การมีส่วนร่วมของชุมชนในการวางแผนแก้ไขปัญหาสุขอนามัยบ้านทุ่งต้นศรีตำบลห้วยลาน อำเภอดอกคำใต้ จังหวัดพะเยา.วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข. 2555 22(1):2-10.
15. บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร. (2545). ระเบียบวิธการวิจัยทางพยาบาลศาสตร์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
16. Evan, D. (2001). “Systemic reviews of nursing research: development of a conceptual
framework.” Unpublished PhD dissertation. Department of Clinical Nursing, Adelaide
University, Australia.
17. Kemmis S & McTaggart R. (Eds). The action research reader. Victoria: Deakin University; 1990.
18. วิไลพรรณ สมบุญตนนท์. การพัฒนาคุณภาพการพยาบาลกับการวิจัย. วารสารกองการพยาบาล 2547 31(1): 96-102.
19. ปราณี อ่อนศรี. แนวทางการพัฒนาศักยภาพด้านการวิจัยในวิชาชีพพยาบาลยุคประเทศไทย 4.0.วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก ราชเทวี กรุงเทพฯ.
20. วัชรีย์ แสงมณี, ยุพิณ วัฒนสิทธิ์, นิตยา ไกรวงศ์, อุมาพร ปุญญโสพรรณ. อุปสรรคในการใช้ผลงานวิจัยทางการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลสงขลานครินทร์. สงขลานครินทร์เวชสาร 2549 24(6); 537-547.
21. Rogers EM, Diffusion of innovation. 4th ed. New York:The Free Press; 1995.
22. อรทัย ชนมาสุข และสมจิต แดนสีแก้ว. การมีส่วนร่วมของสตรีที่แต่งงานข้ามวัตนธรรมในการส่งเสริมสุขภาพชุมชน. วารสารสมาคมพยาบาลฯ สาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 31(2); 123-131.
23. ปัทมา วงษ์กียู้, วงเดือน สุวรรณคีรี, ณิชกานต์ ทรงไทย.ผลของโปรแกรมส่งเสริมการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกต่อการปฏิบัติของพยาบาลและการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะที่สัมพันธ์กับการคาสายสวนปัสสาวะในหอผู้ป่วยวิกฤติอายุรกรรม. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ 2562 37(2); 26-35.
24. อนุชตรา วรรณเสวก และคณะ. กลยุทธ์การเสริมสร้างสมรรถนะพยาบาลผู้ปฏิบัติงานด้านโรคมะเร็งในโรงพยาบาลมะเร็ง สังกัดกรมการแพทย์. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ 2562 37(2); 45-54.
25. ธีรพร สถิรอังกูร, ขวัญนภา ขวัญสถาพรกุล. การพัฒนาระบบบริการพยาบาลโดยผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงในสถานบริการสุขภาพ. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ 2557 32(2); 170-180.
26. Chaiphibalsarisdi P. Quality Nursing Administration : Voices of Experienced Nursing Directors from Hospital in Bangkok Metropolis. Journal of Nursing Science Chulalongkorn University 2007; 19(2) May-August: 142-159.
1. ฟาริดา อิบราฮิม. ปฎิบัติการพยาบาลตามกรอบทฤษฎีการพยาบาล. กรุงเทพมหานคร: สามเจริญพาณิชย์. 2546.
2. พรทิพย์ รัตนวิชัย. การพัฒนารูปแบบการใช้กระบวนการพยาบาลและบันทึกทางการพยาบาล: เพื่อคุณภาพการพยาบาลโรงพยาบาลพระนครศรีอยุธยา. วารสารวิชาการ รพศ/รพท เขต 1 ปีที่6 ฉบับที่1 มกราคม-เมษายน 2547.
3. อัญชลี แก้วสระศรี, รัตนา นิลเลื่อม, ชุลีพร หัตอักษร. การเปลี่ยนแปลงของสังคมและวัฒนธรรมไทยกับแนวโน้มวิชาชีพการพยาบาล.วารสารพยาบาลสงขลานครินทร์ 2560; 37(3):160-169.
4. พวงรัตน์ บุญญานุรักษ์. ระบบบริการพยาบาลเพื่อการประกันคุณภาพ. วารสารคณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา 2545; 10 (2): 49-57.
5. ประณีต ส่งวัฒนา. สถานภาพและทิศทางการวิจัยทางการพยาบาล : มุมมองจากประสบการณ์. วารสารมหาวิทยาลัยนราธิวาสราชนครินทร์ 2552 1(1): 21-27.
6. กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลร้อยเอ็ด. ข้อมูลการรับ-ส่งเวรทางการพยาบาลกลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลร้อยเอ็ด. 2559.
7. กลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลร้อยเอ็ด. สถิติตัวชี้วัดกลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลร้อยเอ็ด. 2559.
8. ศูนย์ข้อมูลคุณภาพโรงพยาบาลร้อยเอ็ด. ข้อมูลผลงานทางวิชาการของพยาบาลกลุ่มการพยาบาล โรงพยาบาลร้อยเอ็ด. 2559.
9. Polit, D. F., & Hungler, B. P. Nursing Research: Principles and Methods (6th ed.). Philadelphia: J. B. Lippincott. 2001.
10. วิจารณ์ พานิช. การบริหารงานวิจัย แนวคิดจากประสบการณ์ (พิมพ์ครั้งที่ 3) กรุงเทพ:สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย. 2546.
11. ชุติกาญจน์ หฤทัย. ทิศทางการพัฒนาระบบงานวิจัยและพัฒนาการพยาบาล. เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพพยาบาลผู้รับผิดชอบงานด้านวิจัยและวิชาการ กลุ่มงานวิจัยและพัฒนาการพยาบาล วันที่ 28 – 29 สิงหาคม 2562 กองการพยาบาล สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ณ โรงแรมมารวยการ์เด้น กรุงเทพมหานคร. 2562.
12. ธีรพร สถิรอังกูร. ก้าวต่อไปของกลุ่มงานวิจัยและพัฒนาการพยาบาล. เอกสารประกอบการอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อพัฒนาศักยภาพพยาบาลผู้รับผิดชอบงานด้านวิจัยและวิชาการ กลุ่มงานวิจัยและพัฒนาการพยาบาล วันที่ 28 – 29 สิงหาคม 2562 กองการพยาบาล สำนักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข ณ โรงแรมมารวยการ์เด้น กรุงเทพมหานคร. 2562.
13. สํานักการพยาบาล สํานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข. การประกันคุณภาพการพยาบาล: การประเมินคุณภาพการบริหารการพยาบาล. พิมพ์ที่บริษัทสามเจริญพาณิชย์ (กรุงเทพ) จำกัด; 2554.
14. จันทร์จิรา อินจีน. การมีส่วนร่วมของชุมชนในการวางแผนแก้ไขปัญหาสุขอนามัยบ้านทุ่งต้นศรีตำบลห้วยลาน อำเภอดอกคำใต้ จังหวัดพะเยา.วารสารพยาบาลกระทรวงสาธารณสุข. 2555 22(1):2-10.
15. บุญใจ ศรีสถิตย์นรากูร. (2545). ระเบียบวิธการวิจัยทางพยาบาลศาสตร์. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
16. Evan, D. (2001). “Systemic reviews of nursing research: development of a conceptual
framework.” Unpublished PhD dissertation. Department of Clinical Nursing, Adelaide
University, Australia.
17. Kemmis S & McTaggart R. (Eds). The action research reader. Victoria: Deakin University; 1990.
18. วิไลพรรณ สมบุญตนนท์. การพัฒนาคุณภาพการพยาบาลกับการวิจัย. วารสารกองการพยาบาล 2547 31(1): 96-102.
19. ปราณี อ่อนศรี. แนวทางการพัฒนาศักยภาพด้านการวิจัยในวิชาชีพพยาบาลยุคประเทศไทย 4.0.วิทยาลัยพยาบาลกองทัพบก ราชเทวี กรุงเทพฯ.
20. วัชรีย์ แสงมณี, ยุพิณ วัฒนสิทธิ์, นิตยา ไกรวงศ์, อุมาพร ปุญญโสพรรณ. อุปสรรคในการใช้ผลงานวิจัยทางการพยาบาลของพยาบาลวิชาชีพโรงพยาบาลสงขลานครินทร์. สงขลานครินทร์เวชสาร 2549 24(6); 537-547.
21. Rogers EM, Diffusion of innovation. 4th ed. New York:The Free Press; 1995.
22. อรทัย ชนมาสุข และสมจิต แดนสีแก้ว. การมีส่วนร่วมของสตรีที่แต่งงานข้ามวัตนธรรมในการส่งเสริมสุขภาพชุมชน. วารสารสมาคมพยาบาลฯ สาขาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ 31(2); 123-131.
23. ปัทมา วงษ์กียู้, วงเดือน สุวรรณคีรี, ณิชกานต์ ทรงไทย.ผลของโปรแกรมส่งเสริมการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกต่อการปฏิบัติของพยาบาลและการติดเชื้อในระบบทางเดินปัสสาวะที่สัมพันธ์กับการคาสายสวนปัสสาวะในหอผู้ป่วยวิกฤติอายุรกรรม. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ 2562 37(2); 26-35.
24. อนุชตรา วรรณเสวก และคณะ. กลยุทธ์การเสริมสร้างสมรรถนะพยาบาลผู้ปฏิบัติงานด้านโรคมะเร็งในโรงพยาบาลมะเร็ง สังกัดกรมการแพทย์. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ 2562 37(2); 45-54.
25. ธีรพร สถิรอังกูร, ขวัญนภา ขวัญสถาพรกุล. การพัฒนาระบบบริการพยาบาลโดยผู้ปฏิบัติการพยาบาลขั้นสูงในสถานบริการสุขภาพ. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ 2557 32(2); 170-180.
26. Chaiphibalsarisdi P. Quality Nursing Administration : Voices of Experienced Nursing Directors from Hospital in Bangkok Metropolis. Journal of Nursing Science Chulalongkorn University 2007; 19(2) May-August: 142-159.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2020-03-26