ประสิทธิภาพของระดับไขมันในช่องท้องในการประเมินความเสี่ยง โรคคาร์ดิโอเมแทบอลิกซินโดรมในกลุ่มทหารเรือไทย

ผู้แต่ง

  • ปวีณา ปัญจธารากุล

คำสำคัญ:

ไขมันในช่องท้อง, ภาวะคาร์ดิโอเมแทบอลิก, ดัชนีมวลกาย

บทคัดย่อ

ภาวะคาร์ดิโอเมแทบอลิก (cardiometabolic syndrome)   คือกลุ่มอาการที่มีระบบเมแทบอลิซึมในร่างกายทิดปกติร่วมกับการมีความเสยงในการเกิดโรคหัวใจและหลอดเลือด         ปัจจุบันมีอัตราการเกิดภาวะคาร์ดิโอเมแทบอลิกสูงขึ้นโดยเฉพาะในผู้ที่มีดัชนีมวลกายปกติ โดยพบว่าระดับไขมันในช่องท้อง ที่สูงขึ้นสัมพันธ์กับการเกิดภาวะคาร์ดิโอเมแทบอลิก งานวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อตรวจวัดระดับไขมัน ในช่องท้องและศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างระดับไขมันในช่องท้องกับพารามิเตอร์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับ การเกิดภาวะคาร์ดิโอเมแทบอลิก โดยการศึกษาแบบ case control study ในกลุ่มบุคลากรกองทัพเรือไทย ที่มีและไม่มีภาวะคาร์ดิโอเมแทบอลิก กลุ่มละ 200 คน และมีระดับค่าดัชนีมวลกาย (BMI) อยู่ในช่วง18.5 - 24.9 กิโลกรัมต่อตารางเมตร โดยใช้เกณฑ์ cardiometabolic disease staging system (CMDS) เป็นเกณฑ์บ่งชารเกิดภาวะคาร์ดิโอเมแทบอลิก         ผลการศึกษาพบค่าเฉลยระดับไขมันในช่องท้องในกลมุ ผู้มีภาวะคาร์ดิโอเมแทบอลิกสูงกว่าในกลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำาคัญทางสถิติ   (p-value   <   0.001)  ระดับ        ไขมันในช่องท้องที่สูงขึ้นมีความสัมพันธ์เชิงบวกกับระดับน้ำาตาลในเลือดขณะอดอาหาร คอเลสเตอรอลไตรกลีเซอไรด์ แอลดีแอล-คอเลสเตอรอล (LDL-C) รวมทั้งความดันซิสโตลิกและไดแอสโตลิก อย่าง มีนัยสำาคัญทางสถิติ (r = 0.310, r = 0.300, r = 0.429, r = 0.394, r = 0.550 และ r = 0.643; p < 0.05) และจากการทดสอบความสัมพันธ์เชิงเส้นพบว่ากลุ่มผู้มีระดับไขมันในช่องท้องสูงกว่าปกติและระดับไตรกลีเซอไรด์ในเลือดสูง    จะมีความเสี่ยงในการเกิดภาวะคาร์ดิโอเมแทบอลิกมากกว่าคนปกติ    1.3 และ 1.7 เท่าตามลำาดับ ส่วน เอชดีแอล-คอเลสเตอรอล (HDL-C) ที่สูงจะเป็นปัจจัยป้องกันการเกิดภาวะ คาร์ดิโอเมแทบอลิก สรุปได้ว่า ระดับไขมันในช่องท้องที่เพิ่มขึ้นส่งผลให้มีระดับไขมันในเลือดผิดปกติมดู ขน้ึงตารเกวะคาิ อเมแทบอลกิแลมา้ ปน็ั บง่ ชค้ี่งต่อการเกิดภาวะคาร์ดิโอเมแทบอลิกได้

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-11-25

How to Cite

ฉบับ

บท

นิพนธ์ต้นฉบับ