การประเมินคุณภาพปัสสาวะเทียมและสไลด์ตะกอนปัสสาวะ สำหรับการตรวจทางเคมีและการตรวจด้วยกล้องจุลทรรศน์ ในการตรวจวิเคราะห์ปัสสาวะ

ผู้แต่ง

  • ปราโมทย์ ศรีวาณิชรักษ์

คำสำคัญ:

ปัสสาวะเทียม, ตัวอย่างควบคุมคุณภาพ, สไลด์ตะกอนปัสสาวะ, การตรวจวิเคราะห์ปัสสาวะ

บทคัดย่อ

การประเมินคุณภาพการตรวจปัสสาวะ ประกอบด้วยการตรวจทางเคมีและการดูตะกอนปัสสาวะ ปัจจุบันหน่วยงานที่ให้บริการการควบคุมคุณภาพระหว่างองค์กรภายในประเทศไทยมีการตรวจหลายวิธี งานวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเตรียมและประเมินตัวอย่างปัสสาวะเทียมสำาหรับการตรวจทางเคมี ซึ่ง ประกอบด้วย พีเอช ความถ่วงจำาเพาะ เลือด คีโตน กลูโคส โปรตีน ไนไตรต์ และลิวโคไซต์เอสเทอเรสและเตรียมสไลด์ตะกอนปัสสาวะทประกอบด้วยเม็ดเลือดขาวและเม็ดเลือดขาวทจีับกลมเม็ดเลือดแดงเซลล์เยื่อบุชนิดสแควมัส แคลเซียมออกซาเลท และแบคทีเรีย โดยเตรียมตัวอย่างปัสสาวะเทียมระดับ ปกติและผิดปกติ แล้วนาำ ตัวอย่างปัสสาวะเทียมทเตรียมได้ไปทดสอบเพอกาำ หนดค่าเป้าหมายด้วยเครอง ตรวจวิเคราะห์สารเคมีในปัสสาวะอัตโนมัติ 3 ยี่ห้อ และทดสอบด้วยแถบทดสอบทางเคมีจาก 6 บริษัท รวมทั้งทดสอบความเป็นเนื้อเดียวกันและความเสถียรนาน 6 เดือน สไลด์ตะกอนปัสสาวะที่เตรียมได้นำา ไปทดสอบประสิทธิภาพและความเสถียรนาน 6 เดือน หลังจากนั้นประเมินปัสสาวะเทียมและสไลด์ ตะกอนปัสสาวะโดยห้องปฏิบัติการเทคนิคการแพทย์ 62 แห่ง ผลการศึกษาพบว่า เครื่องตรวจวิเคราะห์ สารเคมีในปัสสาวะอัตโนมัติให้ค่าสอดคล้องกันทุกรายการทดสอบ และการทดสอบกับแถบทดสอบ พบว่าส่วนใหญ่ให้ผลสอดคล้องกัน การทดสอบความเป็นเนื้อเดียวกันและความเสถียรพบว่าไม่มีความ เปลี่ยนแปลง      การทดสอบสไลด์ตะกอนปัสสาวะพบว่า      สามารถบอกชนิดได้อย่างถูกต้องหลังเก็บนาน 6 เดือน ผลการประเมินจากห้องปฏิบัติการเทคนิคการแพทย์ ตัวอย่างปัสสาวะเทียมระดับปกติและระดับ ผิดปกติรายงานผลสอดคล้องกับค่าที่กำาหนดมากกว่าร้อยละ 98.4 และมากกว่าร้อยละ 92 ตามลำาดับ ยกเว้นคีโตนและเม็ดเลือดขาว ที่ให้ผลรายงานตะกอนปัสสาวะถูกต้องร้อยละ 98.4 สรุปการประเมินคณภาพการตรวจวเิ คราะหป์สัสาวะดว้ ยตวั อยางปสัสาวะเทยมและสไลดต์ะกอนปสัสาวะ แสดงใหเ้ หน็วา่มีความเหมาะสมสำาหรับนำาไปใช้ในการควบคุมคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ปัสสาวะ

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-07-30

How to Cite

ฉบับ

บท

นิพนธ์ต้นฉบับ