การพัฒนาและประเมินสารควบคุมคุณภาพน้ําตาล ที่มีส่วนผสมของเม็ดเลือดแดงสําหรับเครื่องตรวจวัดน้ําตาล จากเลือดปลายนิ้ว

ผู้แต่ง

  • สมศักดิ์ ฟองสุภา

บทคัดย่อ

การใช้เครื่องตรวจวัดน้ําตาลจากเลือดปลายนิ้วมีบทบาทเพิ่มขึ้นในการควบคุมระดับน้ําตาลใน เลือดเพื่อป้องกันภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน      การประเมินประสิทธิภาพของเครื่องตรวจวัด      โดยเฉพาะความแมน่ยาํ จึงมคีวามสาํ คญัตอการควบคุมคุณภาพของการตรวจวดัปจจบุนั สารควบคมุคณภาพนา้ ตาลทมีีขายในท้องตลาดมีลักษณะเป็นสารละลายที่ไม่มีเม็ดเลือดแดง        ซงไม่สอดคล้องกับตัวอย่างจริงของผู้ป่วย    ดังนั้นการวิจัยนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาและประเมินสารควบคุมคุณภาพนํา้ ตาลที่มีเนื้อสาร ใกล้เคียงกับตัวอย่างจริงสําหรับใช้ในการควบคุมคุณภาพการตรวจวัดน้ําตาลจากเลือดปลายนิ้ว          โดยเตรยมสารควบคุมคุณภาพนาํ้   ตาลทมี่ีสว่ นผสมของเม็ดเลอดแดงทรี่ ักษาสภาพดว้ ยกลตูารลัดไี ฮด์ ผลการศึกษาพบว่าสารควบคุมคุณภาพทรี ักษาสภาพด้วยกลูตารัลดีไฮด์เข้มข้นร้อยละ 2 มีความเหมาะสมสําหรับ ตรวจวัดค่าน้ําตาลที่ความเข้มข้นระดับต่ํา กลาง และสูง ดยสารควบคุมคุณภาพมีคุณสมบัติความเป็น เนื้อเดียวกัน (Ss ≤ 0.3σpt) และมีความคงตัว (|(y1 - y2| ≤ 0.3σpt+2u2 (y1) + u2 (y2) ) ที่ 4 องศาเซลเซียสเป็นเวลานาน 8 สัปดาห์ และเมื่อทดสอบความแม่นยํา (precision) ในการตรวจวัดค่า นําตาลของเครื่องตรวจวัดน้ําตาลจากเลือดปลายนิ้วหลักการกลูโคสดีไฮโดรจีเนส (GDH) หรือกลูโคส ออกซิเดส (GOD) จํานวน 5 เครื่อง พบว่าค่าสัมประสิทธิ์ความแปรปรวนในช่วงระยะเวลา 8 สัปดาห์ อยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับทั้ง 3 ระดับความเข้มข้น โดยที่ระดับต่ํามีค่าเท่ากับร้อยละ 5.99, 2.06, 4.57, 4.78

และ 5.07 ที่ระดับกลางมีค่าเท่ากับร้อยละ 5.36, 2.88, 5.12, 6.39 และ 5.14 และที่ระดับสูงมีค่าเท่ากับร้อยละ 6.01, 2.48, 5.09, 6.59 และ 3.48 อย่างไรก็ดีผลทดสอบความถูกต้อง (accuracy) เทียบกับเครอง ตรวจวิเคราะห์สารเคมีอัตโนมัติ พบว่ามี 2 เครื่องตรวจวัดนํา้ ตาลจากเลือดปลายนิ้วหลักการ GDH มีค่าน้ําตาลที่ตรวจได้มากกว่าร้อยละ 95 ซึ่งอยู่ในเกณฑ์ที่ยอมรับ ไม่เกิน ± ร้อยละ 15 ตาม   ISO   15197:2013   จากผลการศึกษาจะเห็นได้ว่าสารควบคุมคุณภาพน้ําตาลที่เตรียมได้นี้สามารถนําไปใช้ในการศึกษาคุณสมบัติความแม่นยําของเครื่องตรวจวิเคราะห์นําตาลปลายนิ้ว          แต่จําเป็นต้อง มีการศึกษาประเมินประสิทธิภาพของเครื่องที่มีหลักการตรวจต่างกันต่อไป

 

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-07-30

How to Cite

ฉบับ

บท

นิพนธ์ต้นฉบับ