การเตรียมตัวอย่างควบคุมชนิดบวก สำาหรับชุดตรวจมาลาเรียสำาเร็จรูปจากการเพาะเลี้ยง เชื้อมาลาเรียชนิด Plasmodium falciparum

ผู้แต่ง

  • ทิพวรรณ สังขพงษ์ ภาควิชาเทคนิคการแพทย์ คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก

คำสำคัญ:

ชุดตรวจมาลาเรียสำาเร็จรูป, มาลาเรีย, พลาสโมเดียม, ฟัลซิปารัม เลี้ยงเชื้อมาลาเรีย

บทคัดย่อ

โรคมาลาเรียเป็นปัญหาทางสาธารณสุขที่สำาคัญในหลายประเทศทั่วโลก รวมถึงประเทศไทย เชื้อมาลาเรียที่ก่อโรคในมนุษย์มี 6 ชนิด ซึ่งอาการของผู้ป่วยโรคมาลาเรียเป็นแบบไม่จำาเพาะ แต่การ รักษาต้องการยาต้านเชื้อมาลาเรียที่จำาเพาะต่อเชื้อมาลาเรียแต่ละชนิด ถ้าได้รับการรักษาที่ไม่ถูกต้องจะทาำ ให้ผปู่วยมีอาการรุนแรงขนและเป็นสาเหตุของการเสียชีวิตได้      โดยเฉพาะผปู่วยทเป็นโรคมาลาเรียชนิด Plasmodium falciparum ดังนั้นการตรวจวินิจฉัยแยกโรคจึงมีความสำาคัญมาก การตรวจทางห้องปฏิบตัิการทนียมคอืการตรวจหาเชอ้มาลาเรียจากฟิล์มเลือดด้วยกล้องจลทรรศนซ์ง่ เป็นวธิีมาตรฐานอย่างไรก็ตามวิธีนี้ต้องอาศัยผู้ที่มีทักษะสูง ปัจจุบันได้มีการพัฒนาวิธีการตรวจด้วยชุดตรวจมาลาเรีย สำาเร็จรูป เนื่องจากเป็นวิธีที่สะดวก รวดเร็ว และอาศัยทักษะของเจ้าหน้าที่น้อย ซึ่งวิธีนี้เป็นการตรวจ หาโปรตีนจากเชื้อมาลาเรีย ได้แก่ histidine-rich protein 2 (HRP-2) และ plasmodium lactate dehydrogenase (pLDH) โดยคุณภาพของชุดตรวจสำาเร็จรูปมีความสำาคัญมาก ดังนั้นงานวิจัยนี้จึงได้ ศึกษาเพื่อหาสภาวะที่เหมาะสมสำาหรับการเตรียมตัวอย่างเลือดที่ติดเชื้อมาลาเรียชนิด P. falciparum โดยการเพาะเลยงเชอมาลาเรีย เพอนาำ ไปควบคุมคุณภาพของชุดตรวจสาำ เร็จรูป โดยเตรียมเชอมาลาเรีย ที่มีความหนาแน่น 200, 2,000 และ 20,000 parasites/µL แล้วนำาไปเก็บรักษาที่อุณหภูมิ 25, 4 และ-20 องศาเซลเซียส เป็นเวลา 1, 2, 3 และ 4 สัปดาห์ จากนั้นนำามาเจือจางด้วยน้ำากลั่นที่อัตราส่วน 1:2ก่อนนาำ ไปทดสอบ พบว่าตัวอย่างทมีีเชอมาลาเรีย 20,000 parasites/µL ให้ผลบวกกับชุดตรวจสาำ   เร็จรูปร้อยละ 100   จากการเก็บรักษาทุกอุณหภูมิ   และทุกช่วงเวลา   ในขณะที่ตัวอย่างที่มีเชื้อมาลาเรีย 2,000parasites/µL ให้ผลบวกร้อยละ 100 จากการเก็บรักษาททีุกอุณหภูมิ และทุกช่วงเวลา ยกเว้นทอีุณหภูมิ25 องศาเซลเซียส ที่เวลา 4 สัปดาห์ ให้ผลบวกร้อยละ 83 ในขณะที่ตัวอย่างที่มีเชื้อมาลาเรีย 200parasites/µL ให้ผลบวกร้อยละ 100 จากการเก็บที่อุณหภูมิ -20 องศาเซลเซียส ที่เวลา 1, 2 และ 3 สัปดาห์ และให้ผลบวกร้อยละ 67 จากการเก็บที่อุณหภูมิ -20 องศาเซลเซียส ที่เวลา 4 สัปดาห์ และให้ผลบวกทลดลงจากการเก็บรักษาทอีุณหภูมิและระยะเวลาอนๆ        สรุปว่าการเตรียมตัวอย่างควบคุมชนิดบวกจากเชื้อมาลาเรีย 20,000 parasites/µL   มีร้อยละการให้ผลบวกมากที่สุด   จากการเก็บรักษาที่ทุก อุณหภูมิและทุกช่วงเวลา

 

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-07-04

How to Cite

ฉบับ

บท

นิพนธ์ต้นฉบับ