การประเมินระดับก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ในลมหายใจ เพื่อบ่งชี้การสูบบุหรี่ของกลุ่มนักศึกษาระดับอุดมศึกษา ในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑล

ผู้แต่ง

  • ชมพูนุท สินธุพิบูลยกิจ กลุ่มวิชาเคมีคลินิก คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยหัวเฉียวเฉลิมพระเกียรติ จังหวัดสมุทรปราการ

คำสำคัญ:

ก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ในลมหายใจ, การสูบบุหรี่, นักศึกษา

บทคัดย่อ

การตรวจระับ๊าซคา์บอนมอนอกไซในลมหายใจเป็นว้ประเินการูบุห่ง่า

ตัดสิน  (cut-off)  แตกต่างกันตามลักษณะของกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา    การเร่มูบุห่เ่ออา้อยก่า

20  ปี  มีความัมันับนวนมวนบุหรสูบมากข ระยะเวลาในการูบและระับการติดนิโคติน

ที่มากขึ้น ซึ่งส่งผลต่อความสำาเร็จในการเลิกบุหรี่ที่ลดลง  การศึกษานี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อใช้การตรวจ

ระดับก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ในลมหายใจในการรณรงค์การลด ละ เลิกบุหรี่ ในกลุ่มตัวอย่างนักศึกษา

และหา่าัดิน่เหมาะสมับประเินการูบุห  โดยวัดระดับก๊าซคาร์บอนมอนอกไซด์ใน

ลมหายใจและสัมภาษณ์นักศึกษาที่อาศัยในเขตกรุงเทพมหานครและปริมณฑลจนวน 389 คน พบว่า

กลักศึกษาทสบบุหร (200 คน) ีระดับก๊าซคาร์บอนมอนอกไซดในลมหายใจสูงกว่ากลไม่สูบบุหร(138 คน) และกลุ่มที่ได้รับควันบุหรี่มือสอง (51 คน) ตามลำดับ [median (95% CI); 9.00 (8.00, 11.00)

ppm vs 3.00 (3.00, 3.00) ppm vs 2.00 (2.00, 3.00) ppm, p < 0.001] มีค่าตัดสินที่เหมาะสมที่ความ

เข้มข้น  ≥ 6  ส่วนในล้านส่วน  (ppm)  ซึ่งมีความไวและความจำเพาะของวิธีเท่ากับร้อยละ 76.50  และ

96.38 ตามลำาดับ โดยความไวของวิธีมีค่าเพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ  84.12 เมื่อทดสอบในกลุ่มที่สูบบุหรี่มวน

สุดท้ายภายใน 6  ชั่วโมง  กลุ่มนักศึกษาที่ตั้งใจจะเลิกสูบบุหรี่   (123  คน)  มีคะแนนความตระหนักต่อ

พิษภัยของการสูบบุหรี่สูงกว่ากลุ่มที่ไม่ต้องการเลิกสูบบุหรี่ (4.02 ± 0.95 vs 3.14  ± 1.31,  p < 0.001)

งานวิจัยนดงให้เห็นว่าการตรวจระดับก๊าซคาร์บอนมอนอกไซในลมหายใจสามารถน มาใช้เพ้าง

ความตระหัก่อิษัยของการูบุหในก่มนักศึกษาไ้โดย่าัดิน่เหมาะสม่ความเ้ม้น

6 ส่วนในล้านส่วน

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-28

How to Cite

ฉบับ

บท

นิพนธ์ต้นฉบับ