การประเมินผลวิธีการใช้น้ำาเกลือความเข้มข้นต่ำา ในการตรวจเชื้อไมโครฟิลาเรีย ในแรงงานต่างด้าว โรงพยาบาลปากท่อ จังหวัดราชบุรี

ผู้แต่ง

  • ดวงเนตร พิพัฒน์สถิตพงศ์ โครงการบัณฑิตศึกษาสาขาเทคนิคการแพทย์ และ ภาควิชาเทคนิคการแพทย์ คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (ศูนย์รังสิต) จ.ปทุมธานี

คำสำคัญ:

ไมโครฟิลาเรีย, วิธีการใช้น้ำาเกลือความเข้มข้นต่ำ, แรงงานอพยพ

บทคัดย่อ

โรคเท้าช้างเกิดจากเชื้อไมโครฟิลาเรีย ได้แก่  Wuchereria bancrofti และ Brugia malayi

ซึ่งพบการระบาดทั่วโลก รวมทั้งในกลุ่มแรงงานต่างด้าวในประเทศไทย การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ

ประเินผลีการใเกือความเ้ม้น (LNSS technique) ในการตรวจหาเ้อไมโคริลาเีย

ในแรงงานต่างด้าว  รพ.ปากท่อ  จ.ราชบุรี  ประ พ.ศ.  2559  โดยการตรวจคัดกรองการติดเชื้อ

ไมโครฟิลาเรียในแรงงานต่างด้าว   1,967  ราย ด้วยวิธี  thick smear, buffy coat capillary tube และ

LNSS technique ผลการศึกษาพบว่าว LNSS technique สามารถตรวจพบเชไมโคริลาเรียในตัวอย่าง

56 ราย (ร้อยละ  2.8)  ขณะที่วิธี  thick smear และ  buffy coat capillary  tube ไม่สามารถตรวจพบเชื้อ

เมเปรียบเทียบประสิทธิภาพของวิธ LNSS technique ับวิธีการตรวจยืนยันการพบเชไมโครฟิลาเรีย

ณคาความไวไ้อยล 100  ความพาะรอยล 100  าทายบวกรอย 100 าทาย

ผลลบร้อยละ 100 และความถูกต้อง  ร้อยละ 100 สรุปว่าวิธี LNSS technique เป็นวิธีที่เหมาะสม  คือ

ใช้งานง่าย ราคาถูก และมีประสิทธิภาพในการตรวจหาเชอไมโครฟิลาเรีย สามารถประยุกใช้เป็นวิธีการ

ตรวจคัดกรองเชื้อไมโครฟิลาเรียในแรงงานต่างด้าวได้

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-06-28

How to Cite

ฉบับ

บท

นิพนธ์ต้นฉบับ