Microcytic Anemia Factor (MAF) ในหญิงตั้งครรภ์ที่มียีน ธาลัสซีเมีย: การศึกษาเบื้องต้นที่โรงพยาบาลแม่สอด จังหวัดตาก

ผู้แต่ง

  • ศศิศ บุญมี งานโลหิตวิทยาคลินิก กลุ่มงานเทคนิคการแพทย์ โรงพยาบาลแม่สอด จังหวัดตาก

คำสำคัญ:

Microcytic anemia factor, บีตา-ธาลัสซีเมีย, หญิงตั้งครรภ์, PCR α-thal 1

บทคัดย่อ

งานัย้เ็นการึกษาเ้อง้นเ่อหา microcytic  anemia factor (MAF)   นคนปกิและ

ญิงตั้งครรภ์ที่มารับบริการฝากครรภ์ในโรงพยาบาลแม่สอดระหว่างเดือนมกราคม    พ.ศ.  2550  ึงือน

ธันวาคม  พ.ศ. 2559 จำานวน 2,056 ราย โดยวิเคราะห์ผลตรวจความสมบูรณ์ของเม็ดเลือด และค่า MAF

[Hb*MCV/100] ตรวจคัดกรองและวินิจฉัยธาลัสซีเมียในกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ด้วยการทดสอบ  DCIP และ

ตรวจวิเคราะห์ชนิดและปริมาณฮีโมโกลบินด้วยเครื่องวิเคราะห์อัตโนมัติ  ผลการศึกษาพบว่า  ในก่มคน

ปกติมีค่า MAF  เฉลี่ยเท่ากับ 12.5 ±  1.2 และแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p  < 0.05) เมื่อเทียบ

กับกลุ่มหญิงตั้งครรภ์ที่ไม่เป็นธาลัสซีเมีย   ่อิเคราะในก่มหิง้งครรภ์พบว ่ม่เ็นธาัสีเีย

มีค่า MAF   ่าก่ม่เ็นธาัสีเ คือมีค่า  MAF   เฉลี่ยอยู่ในช่วง  5.6-9.1 โดยในก่มพาหะ

ฮีโมโกลบินอีที่มีค่า Hb E  25%  มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ 9.1  ±  1.1  ซึ่งสูงกว่ากลุ่มพาหะฮีโมโกลบินอีที่มีค่า

Hb E  < 25%  ส่วนกลุ่มโฮโมไซกัสฮีโมโกลบินอี  โรคฮีโมโกลบินเอช  และโรคีตา-ธาลัสซีเีย่วมับ

ฮีโมโกลบินอี  มีค่าเฉลี่ยเท่ากับ  6.7  ±  1.1,  5.6   ±  0.7  และ  5.9  ±  2.3  ตามลำาดับ  ผลการศึกษาแสดงว่า

ค่า  MAF  มีความแตกต่างกันในกลุ่มคนปกติและหญิงตั้งครรภ์  และ่าลงใน่เ็นธาัสีเีย

โดย MAF  จะ่าลงมาก้นเ่อีความิดปกิของโกลินีนมาก ัง้นอาจ MAF 

ประโยชน์ในการคาดการณ์ว่ามีพาหะ α-thal 1 ร่วม หลังจากตรวจด้วย CBC  และ DCIP  ก่อนที่จะตรวจ

Hb typing ได้ รวมถึงการนำาไปใช้ในการพิจารณาส่งตรวจยีน  α-thal 1 เพิ่มเติมโดยวิธี PCR

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-07-03

How to Cite

ฉบับ

บท

นิพนธ์ต้นฉบับ