Candida auris: แคนดิดาดื้อยาหลายขนานตัวแรก
คำสำคัญ:
Candida auris, Multidrug resistance, Non albicans Candida, Candida spp.บทคัดย่อ
Candida auris เป็นเชื้อก่อโรคในโรงพยาบาลที่อุบัติใหม่และเป็นสาเหตุของการติดเชื้อใน
กระแสเลือดและอวัยวะภายใน เชื้อส่วนใหญ่ดื้อต่อยา fluconazole (ยาหลักที่ใช้รักษาโรคติดเชื้อ
Candida) บางสายพันธุ์ดื้อยา 2 ขนาน หรือมากกว่า (ดื้อยาหลายขนาน) โดยเฉพาะ amphotericin B
(ยาหลักที่ใช้รักษาโรคติดเชื้อ Candida species ที่พบไม่บ่อย) และ echinocandins (ยาที่ได้รับการ
พัฒนาไม่นานนี้ เพื่อใช้รักษาโรคติดเชื้อ Candida ดื้อยา) ทำาให้การรักษายุ่งยากและผู้ป่วยเสียชีวิต
ในอัตราสูง C. auris ยังมีคุณลักษณะที่สำาคัญและต่างจาก C. albicans และ Candida species ตรงที่
ผู้ป่วยเมื่อติดเชื้อแล้ว เชื้ออาจยังคงอยู่บนตัวผู้ป่วยได้นานหลายสัปดาห์ เชื้อสามารถถ่ายทอดสู่ผู้ป่วย
รายอื่นและสู่สิ่งแวดล้อมรอบๆ ตัวผู้ป่วย ทำาให้เกิดการระบาดของโรคติดเชื้อในโรงพยาบาล ดังนั้นการ
ตรวจพบเชอได้รวดเรวจึงมีความสาำ คญัยงิ ต่อการรักษาผปู้่วยและการกาำ หนดมาตรการการป้องกันควบคุม
การแพร่กระจายของเชื้อ รายงานอุบัติการณ์ในหลายทวีปทั่วโลกและหลักฐานสนับสนุนว่าเชื้อสามารถ
แพร่กระจายระหว่างผู้ป่วยและสิ่งแวดล้อม ได้กระตุ้นหน่วยงานด้านดูแลสุขภาพให้เฝ้าระวังโดยอาศัย
วิธีวินิจฉัยเชอทมีีความถูกต้องเชอถือได้ เช่น การหาลาำ ดับเบส (ITS, D1/D2) หรือการใช้ MALDI-TOF
MS ตามข้อแนะนำาของศูนย์เฝ้าระวังและควบคุมโรคติดต่อของประเทศสหรัฐอเมริกา (US CDC) และ
หน่วยงานด้านดูแลสุขภาพของนานาประเทศ การขาดความระมัดระวังหรือรู้ไม่เท่าทันมักส่งผลให้การ
วินิจฉัยเชื้อบ่อยครั้งผิดพลาดเป็น C. haemulonii หรือบางครั้งผิดพลาดเป็น Candida species อื่นๆหรือยีสต์จีนัสอนืในประเทศไทยถงแม้จะยังไม่มรายงานการพบเชอแต่ก็ควรเฝ้าระวังเพอลดความเสยง
ในการแพร่กระจายเชื้อดื้อยาหรือควบคุมการระบาดของเชื้อดื้อยาได้ทันท่วงที ปัจจุบันมีแนวโน้มของ
การพบเชออุบัติใหม่ทมีีการดอยาเพมมากขนหรือไม่ทราบว่าเชอตอบสนองต่อยาชนิดใด จึงน่าจะถึงเวลา
ที่ควรจะมีการทบทวนหรือปรับวิธีการวินิจฉัยเชื้อให้ทันต่อเหตุการณ์ และมีความรู้ที่จะสร้างความมั่นใจ
ในผลการทดสอบ ในบทความนจะกล่าวทบทวนพอสังเขปทงอุบัติการณ์การพบเชอื
จุดบอดของการวินิจฉัยเชื้อที่ควรระวัง และการดื้อยาของเชื้อ C. auris