การประเมินผลการตรวจกรองธาลัสซีเมียและฮีโมโกลบิน อี ในโรงพยาบาลชุมชน

ผู้แต่ง

  • ยุพิน โจ้แปง ศูนย์อนามัยที่ 9 นครราชสีมา 177 หมู่ 6 ตำาบลโคกกรวด อำาเภอเมือง จังหวัดนครราชสีมา

คำสำคัญ:

การตรวจกรองธาลัสซีเมียและฮีโมโกลบิน อี, เครื่องวิเคราะห์เม็ดเลือดอัตโนมัติ, เกณฑ์ค่าอ้างอิง

บทคัดย่อ

งานวิจัยนเป็นการศึกษาเชิงพรรณนาแบบศึกษาข้อมูลย้อนหลัง ีวัตถุประสงค์เพอประเินการ

ใช้เกณฑ์อ้างอิงของประเทศในการตรวจกรองธาลัสซีเมียและฮีโมโกลบิน  อี ในหญิงตครร์และคมรส

ของโรงพยาบาลภาครัฐ  (ค่า MCV  < 80 fL  และ  MCH  < 27 pg ร่วมกับการตรวจกรองฮีโมโกลบิน อี

ดยการตกตะกอนด้วยดีซีไอพี) เปรียบเทียบกับวิธีมาตรฐาน  ได้แก่  การตรวจหาชดและปริมาณ

ฮีโมโกลบิน  และการตรวจดีเอ็นเอ   กลุ่มตัวอย่างเป็นตัวอย่างเลือดหญิงตั้งครรภ์และสามี  นวน

7,615 ราย ที่ให้ผลบวกกับการตรวจกรองเบองต้น และฝากครรภ์ คลินิกฝากครรภ์ โรงพยาบาลชุมชน

63 แห่ง  ใน 4 จังหวัด  ของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ   ได้แก่  จังหวัดนครราชสีมา ชัยภูมิ บุรีรัมย์  และ

สุรินทร์  โดยตรวจกรองพาหะ   α0-thalassemia และพาหะ  β-thalassemia ในตัวอย่างเลือด  7,615

ตัวอย่าง ด้วยเครื่องวิเคราะห์เม็ดเลือดอัตโนมัติ 9 ยี่ห้อ และ  ตรวจกรองฮีโมโกลบิน อี ในตัวอย่างเลือด

6,382  ตัวอย่าง  โดยการตกตะกอนด้วยดีซีไอพี    ่อเปรียบเทียบผลการตรวจกรองับีมาตรฐาน

พบว่าเกณฑ์อ้างอิงของประเทศที่ใช้ค่า MCV  < 80 fL  และ  MCH  < 27 pg สามารถใช้ได้กับเครื่อง

วิเคราะห์เม็ดเลือดอัตโนมัติ  ยี่ห้อ Coulter DxH500 ยี่ห้อ Coulter LH780  ยี่ห้อ Dirui BF 6800 ยี่ห้อ

Pentra ES60  ยี่ห้อ Pentra XL80  ยี่ห้อ Cell-Dyn  Ruby ยี่ห้อ Sysmex XN- 1000i และยี่ห้อ  Sysmex

XS-800i แต่มีตัวอย่างเลือดพาหะ β+-thalassemia จำนวน 1 ตัวอย่าง ที่ตรวจวิเคราะห์ด้วยเครื่องยี่ห้อ

Mindray  BC6800   มีค่า MCV  > 80 fL และ MCH > 27 pg อย่างไรก็ตามไม่สามารถระบุได้ชัดเจนว่า

ค่า MCV< 80 fL  และ  MCH < 27 pg ใช้กับเครื่องยี่ห้อ  Mindray BC6800  ไม่ได้  เนื่องจากจำนวน

ตัวอย่างที่พบเพียง  1 ตัวอย่าง ไม่สามารถแสดงความน่าเชื่อถือของข้อมูลได้  ส่วนการตรวจกรอง  Hb E

ดยการตกตะกอนด้วยดีซีไอพี พบค่าการท นายผลบว่าการท นายผลลและค่าความถูกต้อ เท่ากับ

ร้อยละ 93.8 83.2 และ 89.5 ตามลำาดับ ซึ่งปัจจัยที่มีผลต่อการแปลผลผิดพลาด คือบุคลากรห้องปฏิบัติการ

ขาดความรู้และทักษะในการอ่านผล และห้องปฏิบัติการขาดระบบควบคุมคุณภาพที่ดีเพียงพอ   ผลการ

ศึกษาครั้งนี้สรุปได้ว่าการตรวจกรองธาลัสซีเมียโดยใช้ค่าดัชนีเม็ดเลือดแดงร่วมกับการตรวจ  Hb E

ในกลมหญิงตงครรภ์และสามี ตามแนวทางการตรวจกรองธาลัสซีเมียของประเทศ ้องปฏิบัติการแต่ละ

แห่งควรใส่ใจเกยวกับผลลบลวง และควรมีระบบการควบคุมคุณภาพทนอกจากน

คลากรผู  ับผิดชอบการตรวจกรองควรไบการอบรมางสอเอเความามารถใการปานาง

ถูกต้อง

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-07-03

How to Cite

ฉบับ

บท

นิพนธ์ต้นฉบับ