ความชุกและความจำาเพาะของแอนติบอดีต่อเม็ดเลือดแดงจาก การตรวจกรองแอนติบอดีซ้ำาในผู้บริจาคเลือดคนไทย
บทคัดย่อ
การตรวจกรองแอนติบอดีในพลาสมาผบรจาคเลอดมความสาำ คญั
ในการป้องกันการเกิดปฏิกิริยา
ไม่พึงประสงค์จากการรับเลือดจากการแตกของเม็ดเลือดแดงในผปู
่วย สาำ หรับการตรวจกรองแอนติบอดี
จำานวนมากนิยมใช้เครื่องอัตโนมัติ ซึ่งส่งผลต่อจำานวนเลือดผู้บริจาคที่ให้ผลบวกต่อการตรวจกรอง
แอนติบอดีเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับวิธีมาตรฐานทำาให้เลือดสำารองในคลังเลือดไม่เพียงพอ ผู้วิจัยมี
วัตถุประสงค์ทจะตรวจกรองแอนติบอดีซา้ำ
เพอสร้างแนวทางการตรวจกรองแอนติบอดีในผบริจาคเลือด
คนไทย จากพลาสมาผู้บริจาคทั้งหมด 4,834 รายที่ตรวจกรองแอนติบอดีด้วยเครื่องอัตโนมัติมีจำานวน
136 รายให้ผลบวกจึงนำามาตรวจซ้ำาด้วยวิธีหลอดทดลอง และ column agglutination test และตรวจ
แยกชนิดแอนติบอดี โดยวิเคราะห์ผลแบ่งตามเพศ อายุ และหมู่เลือด ผลการศึกษาพบว่า พลาสมา
ที่ให้ผลบวกต่อการตรวจกรองแอนติบอดีซ้ำาจำานวน 81 ราย (1.68%) ผู้บริจาคเพศหญิงมีผลบวกต่อการ
ตรวจกรองแอนติบอดีมากกว่าเพศชายอย่างมีนัยสำาคัญ (p = 0.041) แต่ไม่พบความแตกต่างในแต่ละ
ช่วงอายุ และ ผู้บริจาคหมู่ B พบแอนติบอดีได้มากกว่าหมู่อื่นอย่างมีนัยสำาคัญ (p = 0.005) ส่วนพลาสมา
ที่ให้ผลบวกต่อการตรวจกรองแอนติบอดีซ้ำาพบเป็น single antibody จำานวน 61 ราย (75.32%),
multiple antibodies จาำ นวน 12 ราย (14.80%) และไม่สามารถระบุชนิดจาำ นวน 8 ราย (9.88%) แอนติบอดี
ต่อระบบหมู่เลือดที่พบบ่อยคือ Lewis และ MNS นอกจากนี้ anti-Mia ที่ตรวจพบในพลาสมา 2 ราย
สามารถนาำ ไปใช้เป็นแอนติซีรัมได้ โดยสรุปความสาำ คัญของการตรวจกรองแอนติบอดีซา้ำ สามารถใช้เป็น
แนวทางในกลุ่มผู้บริจาคเลือดคนไทย การประยุกต์ใช้แนวทางดังกล่าวเป็นประโยชน์ในการลดจำานวน
การทิ้งเลือดโดยไม่จำาเป็น อีกทั้งอาจนำาพลาสมาผู้บริจาคที่ทราบชนิดแอนติบอดีและมีคุณสมบัติเหมาะสม
ไปเตรียมเป็น in-house antisera เพื่อใช้ในห้องปฏิบัติการได้ อีกทั้งสามารถประยุกต์ใช้กับห้องปฏิบัติการ
งานธนาคารเลือดอื่นที่มีปัญหาเช่นเดียวกัน