การประเมินความสามารถของห้องปฏิบัติการโลหิตวิทยาและ เคมีคลินิกของโรงพยาบาลตรังด้วย Six Sigma Metric

ผู้แต่ง

  • ทัศนีย์ สิริธัญญ์สกุล กลุ่มงานเทคนิคการแพทย์และพยาธิวิทยาคลินิก โรงพยาบาลตรัง จังหวัดตรัง

คำสำคัญ:

Six-sigma, การควบคุมคุณภาพ, Sigma metric

บทคัดย่อ

การประเินความสามารถของ้องปิการโลิติทยาและเีค โรงพยาบาลตัง้ว

sigma metric ประยุกใช้แนวค six sigma ในการประเมินประสิทธิภาพการตรวจวิเคราะห์และวางแผน

การควบคุมคุณภาพที่เหมาะสม  ดยประเมินความไ่แ่น (imprecision)  ด้วยค่า  %CV จากการ

ควบคุมคุณภาพภายใน (IQC)  และประเมินความไม่ถูกต้อง (inaccuracy)  ด้วยค่าอคติ  (%bias)  จาก

proficiency testing (PT) หรือ external quality assessment (EQAS) ประเมินความสามารถของรายการ

ทดสอบ  ด้วยสูตร  sigma metric = (%TEa  - %bias)/ %CV  และเลือกกฎที่เหมาะสมในการควบคุม

คุณภาพ จากข้อมูลย้อนหลัง 6 เดือน  ตั้งแต่เดือนตุลาคม   พ.ศ. 2559 ถึงเดือนมีนาคม  พ.ศ. 2560 ผล

ประเมินความสามารถด้วย sigma metric  ของเครื่องตรวจวิเคราะห์เซลล์เม็ดเลือดอัตโนมัติ Beckman

Coulter  รุ่น LH780   พบว่า  รายการทดสอบ  platelet count (PLT),   red blood cell count (RBC),

hemoglobin concentration (HGB)   และ  mean cell volume (MCV)   มีความสามารถอยู่ในระดับดีเลิศ

และดีเยี่ยม  และผลประเมินความสามารถของเครื่องตรวจวิเคราะห์ทางชีวเคมี Beckman Coulter รุ่น

AU680 2 เครื่อง จำนวน 26 รายการ พบว่า มากกว่าร้อยละ 80 ของรายการทดสอบ มีความสามารถอยู่

ี่ ในรายการทดสอบที่มีความสามารถดีเลิศและดีเยี่ยม   สามารถใช้กฎ single

rule 13S, N=2, Pfr < 0.01และ Ped≥ 90 ในการควบคุมคุณภาพได้  เพราะเป็นกฎที่มีความเหมาะสมและ

 

ยืดหยนสูง ตรวจจับความผิดพลาดได้ดีเย และมีผลเตือนลวงต

 

สามารถท การควบคุมคุณภาพเพียง

 

1 รอบต่อวัน ทำาให้บุคลากรปฏิบัติงานสะดวกมากขึ้น มั่นใจในประสิทธิภาพของเครื่องมือ ลดภาระงาน

และค่าใช้จ่ายของสารควบคุมคุณภาพ สำาหรับรายการทดสอบที่มีความสามารถในระดับปานกลาง  ได้แก่

white blood cell count (WBC),   low-density  lipoprotein (LDL), blood urea nitrogen (BUN)   และ

total protein (TP)  ห้องปฏิบัติการต้องแก้ไขและปรับปรุงคุณภาพการตรวจวิเคราะห์ โดยเพิ่มความถี่

ของการควบคุมคุณภาพ ทบทวนแผนการควบคุมคุณภาพและมีการประเมินซ้ำ เพื่อรักษาไว้ซึ่งคุณภาพ

ผลการตรวจวิเคราะห์

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-07-03

How to Cite

ฉบับ

บท

นิพนธ์ต้นฉบับ