การศึกษาข้อมูลการตรวจวัดน้ำาตาลกลูโคสในเลือด: หลักการตรวจวัดและเทคโนโลยี

ผู้แต่ง

  • วันวิสาข์ ตรีบุพชาติสกุล ภาควิชาเทคนิคการแพทย์ คณะสหเวชศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร จังหวัดพิษณุโลก

คำสำคัญ:

เครื่องกลูโคมิเตอร์, การตรวจน้ำาตาลในเลือด, การทดสอบ ณ จุดดูแลผู้ป่วย, การตรวจวัดระดับน้ำาตาล ในเลือดด้วยตนเอง

บทคัดย่อ

การตรวจวัดน ตาลจากปลายน้วยเครงตรวจัดน ตาลชนิดพกพหรือกลูโคสมิเตอร์เป็นการ

ตรวจเ่อติดตามระดับนตา ่งจะ่วยลดการเิดภาวะแทรก้อนใน่วยโรคเบาหวา และเ็น

รายการตรวจ ณ จุดดูแลผู้ป่วย   ที่มีการใช้งานมากที่สุดในโรงพยาบาล และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพ

ในประเทศไทย  องตรวาลพกพาหลายักกา ะใกการเียความ

แตกต่างของชนิดและหรือปริมาณของเอนไซม์ โคเอนไซม์ เมดิเอเตอร์  รวมทเทคโนโลีท่ละโรงงาน

ผู้ผลิตเลือกใช้ การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาข้อมูลปัจจุบันของเครื่องตรวจวัดน้ำตาลชนิดพกพา

ที่ใช้ในสถานพยาบาลในประเทศไทย และทปรากฏในงานวิจัยตีพิมพ์  โดยการรวบรวมข้อมูลเครงตรวจ

วัดน้ำาตาลชนิดพกพาทั้งหมด 106 รุ่น ตั้งแต่ปี  พ.ศ. 2554 ถึงพ.ศ. 2559 โดยนำาข้อมูล หลักการ ชนิด

ของเอนไซม์  คุณักษณะคัญของเคร่องตรวจวัดตาลชิดพกพ และแถบทดสอบาล่ระ

ในใบแทรก  แนกเ็น้อยล  ผลการศึกษา  พบว่า  1)  มีการใช้เครื่องตรวจวัดน้ำาตาลชนิดพกพา

ลักการ  amperometry ด้วยเอนไซม์   glucose dehydrogenase (GDH)   มากที่สุด  (ร้อยละ   54.7)

2)  การระงเือดจากหลอดอดอยเ็นางามารถใบเองตรวาลุก่น

และมีเพียงร้อยละ 20.4  ที่ใช้ได้เฉพาะกับตัวอย่างเลือดชนิดอื่นๆ   3)  มีการใช้โคเอนไซม์ 3  

ในการตรวจัดตาลปลาย้วด้วยเคร่องตรวจัดตาลชิดพกพ ด้แก่ NAD, PQQ  แล FAD

โดยชนิดที่พบมากที่สุดคือ   Pyrroloquinolinequinone (PQQ)  (ร้อยละ   41.4)  4)  ระยะเวลาแสดงผล

การวิเคราะห์พบมากที่สุด คือ 5 วินาที (ร้อยละ  74.7) 5) ช่วงอุณหภูมิที่เก็บแถบทดสอบน้ำตาลในเลือด

พบมากที่สุด คือ ช่วง 4-30 องศาเซลเซียส (ร้อยละ 45.5) และ  6) ปริมาตรตัวอย่างเลือดที่ใช้ในการ

ตรวจวิเคราะห์น้ำาตาลในเลือดที่พบมากที่สุดคือช่วง 0.3-0.5 ไมโครลิตร (ร้อยละ 63.6)

การศึกษานี้สรุปได้ว่าเครื่องตรวจวัดน้ำาตาลชนิดพกพา  106 รุ่น ที่ศึกษาใช้ระบบตรวจวัดชนิด amperometry และ  photometry โดย amperometry มีการนำามาใช้มากกว่า และทั้ง  2 ระบบสามารถ ใช้กับเอนไซม์ทั้ง   2 ชนิด ได้แก่  glucose oxidase (GOx)   หรือ  glucose dehydrogenase (GDH) โดย GDH-PQQ-amperometry ็นหักการ่พบมากุดในการตรวจัด้ำตาล้วยเค่องตรวจัดแบบ พกพาที่ใช้ในประเทศไทย และ/หรือที่ปรากฏในงานวิจัยตีพิมพ์   ในช่วง พ.ศ. 2554 ถึง พ.ศ. 2559

 

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-07-03

How to Cite

ฉบับ

บท

นิพนธ์ต้นฉบับ