การเตรียมสารควบคุมคุณภาพในรูปเลือดครบส่วนสำาหรับ เครื่องตรวจวัดระดับน้ำาตาลชนิดพกพา

ผู้แต่ง

  • จิราพร สิทธิถาวร คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม จังหวัดมหาสารคาม

คำสำคัญ:

สารควบคุมคุณภาพ, เครื่องตรวจวัดระดับน้ำาตาลปลายนิ้วชนิดพกพา, ความเป็นเนื้อเดียว, ความคงตัว, ความถูกต้อง

บทคัดย่อ

จากข้อมูลสถานการณ์โรคเบาหวานในประเทศไทย   ได้มีการคาดการณ์ว่าในปี พ.ศ.  2573

ผู้ป่วยเบาหวานในประเทศไทยจะเพิ่มขึ้นเป็น   4.3  ล้านคน กระทรวงสาธารณุขไีนโยบายในการ

เฝ้าระวัง  ป้องกัน  และควบคุม   เพื่อลดความเสี่ยงในการเกิดโรคดังกล่าว โดยมีมาตรการในการค้นหา

ประชากรีความเ่ยง่จะเ็นเบาหวาน้วยการใ้แบบสอบถามัดกรองร่วมกับการเจาะเือดปลาย้ว

่อหาระดับนตาลในเือ  โดยการใช้เครื่องตรวจวัดระดับน้ำาตาลปลายนิ้วชนิดพกพา (blood

glucometers, BG  meter) ซึ่งพบว่ามีการใช้  BG  meter อย่างแพร่หลายในสถานบริการขั้นปฐมภูมิ เช่น

โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตำาบล (รพ.สต.) BG  meter เป็นเครื่องมือประเภท point-of-care  testing

(POCT)  ็น้องมีระบบการควบคุมุณภา  โดยใช้สารควบคุมคุณภาพที่มีสมบัติเหมือนกับ

สิ่งส่งตรวจ  คือ  เลือดครบส่วน  (whole blood) แต่การจัดหาสารควบคุมคุณภาพในระดับโรงพยาบาล

ส่งเสริมสุขภาพตำาบลยังมีปัญหาเรื่องภาระค่าใช้จ่าย  ดังนั้น การวิจัยครั้งนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อทดลอง

เตรียมสารควบคุมคุณภาพในรูปเลือดครบส่วน โดยใช้สารรักษาสภาพที่แตกต่างกัน วิธีที่ 1 ใช้ 30 mM

glyceraldehyde (GA)   และวิธีที่   2 ใช้ 30 mM GA   ร่วมกับ   2.4 mM sodium iodoacetate (IA) และ

ศึกษาความเป็นเนื้อเดียว (homogeneity) ความคงตัว  (stability)  และความถูกต้องของผลการทดสอบ

(accuracy) เปรียบเทียบกัน   ผลการศึกษาพบว่าสารควบคุมคุณภาพที่เตรียมด้วยวิธีที่ 1 ทั้งระดับความ

้ม้น  ปกติ  และสูง   มีความเป็นเนื้อเดียว  (F  < Fcritical)  ค่าสารควบคุมคุณภาพอยู่ในช่วง

± 2SD  ความคงตัวของสารมีความแตกต่างกันอย่างมีนัยสำาคัญหลังวันที่  23 (p  < 0.05) และค่าความ

ถูกต้อง  เท่ากับร้อยละ   85.59, 92.60 และ  94.65 ตามลำาดับ  ส่วนสารควบคุมคุณภาพที่เตรียมด้วยวิธีที่  2

ทั้งระดับความเข้มข้นต่ำา ปกติ  และสูง  มีความเป็นเนื้อเดียว ( F  < Fcritical) ค่าสารควบคุมคุณภาพ

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-07-02

How to Cite

ฉบับ

บท

นิพนธ์ต้นฉบับ