ความชุกและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยเอดส์ที่มารับบริการในคลินิกเอดส์ โรงพยาบาลเอราวัณ จังหวัดเลย
คำสำคัญ:
ความชุก, ภาวะซึมเศร้า, เอดส์บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาความชุกและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับการเกิดภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยเอดส์ที่มารับบริการในคลินิกเอดส์
วิธีการ : การวิจัยเชิงวิเคราะห์แบบภาคตัดขวางในผู้ป่วยเอดส์ที่มารับยาต้านเชื้อไวรัสในคลินิกเอดส์ โรงพยาบาลเอราวัณจังหวัดเลย ในเดือนกุมภาพันธ์ถึงเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2566 สัมภาษณ์ด้วยแบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลและข้อมูลทางคลินิก คัดกรองภาวะซึมเศร้าด้วยเครื่องมือ Khon Kaen university - depression inventory (KKU-DI) วิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนาและค้นหาตัวแบบของปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าด้วยการวิเคราะห์ multivariate logistic regression
ผล : กลุ่มตัวอย่าง 120 คน พบความชุกภาวะซึมเศร้าร้อยละ 29.2 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ ความเพียงพอของรายได้ (AOR = 3.45, 95% CI = 1.49 - 8.00) เหตุการณ์กระทบกระเทือนจิตใจอย่างรุนแรงในช่วง 1 ปีที่ผ่านมา (AOR = 4.82, 95% CI = 1.89 - 12.28) สัมพันธภาพที่ไม่ดีของสมาชิกในครอบครัวจนส่งผลกระทบกระเทือนแก่จิตใจ (AOR = 3.92, 95% CI = 1.24 - 12.41) การมีโรคติดเชื้อฉวยโอกาส (AOR = 4.33, 95% CI = 1.12 - 16.72) และการเจ็บป่วยจนต้องนอนโรงพยาบาลในรอบ 1 ปีที่ผ่านมา (AOR = 4.27, 95% CI = 1.68 - 10.86)
สรุป : ปัญหาเศรษฐกิจและสังคมและการเจ็บป่วยที่รุนแรงส่งผลต่อภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยเอดส์ ผู้ป่วยกลุ่มนี้จึงควรได้รับการส่งเสริมดูแลทางจิตสังคมอย่างเหมาะสมเพื่อป้องกันภาวะซึมเศร้า
Downloads
References
United Nation AIDS. Global HIV & AIDS statistics. Geneva: Fact sheet; 2023.
คณะกรรมการแห่งชาติว่าด้วยการป้องกันและแก้ไขปัญหาเอดส์. แผนปฏิบัติการยุติปัญหาเอดส์ ประเทศไทย พ.ศ. 2566 - 2569 [The plan to end the AIDS problem in Thailand, fiscal year 2023 - 2026]. นนทบุรี: บริษัท เอ็นซี คอนเซ็ปต์ จำกัด; 2566.
กรมควบคุมโรค. สถานการณ์เอชไอวีประเทศไทย ปี 2564 [The HIV/AIDS situation in Thailand in the year 2021] [อินเทอร์เน็ต]. นนทบุรี: กรม; 2564 [สืบค้นเมื่อวันที่ 2 ก.ค. 2565] จาก: https://hivhub.ddc.moph.go.th/Download/RRTTR/Factsheet_HIV_2564_TH_V2.pdf
มาลัย ใจสุดา, ฐาปกรณ์ เรือนใจ. ความชุกและปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าของผู้ติดเชื้อเอชไอวี/ผู้ป่วยเอดส์ในโรงพยาบาลสมเด็จพระญาณสังวร จังหวัดเชียงราย [Prevalence of depressive mood and related factors among HIV/AIDS patients at Somdej Phrayanasangworn hospital, Chiangrai]. ลำปางเวชสาร. 2560;38(2):39-48.
Song JY, Lee JS, Seo YB, Kim IS, Noh JY, Baek JH, et al. Depression among HIV-infected Patients in Korea: assessment of clinical significance and risk factors. Infect Chemother. 2013;45(2):211-6. doi:10.3947/ic.2013.45.2.211.
Anagnostopoulos A, Ledergerber B, Jaccard R, Shaw SA, Stoeckle M, Bernasconi E, et al. Frequency of and Risk Factors for Depression among Participants in the Swiss HIV Cohort Study (SHCS). PLoS One. 2015;10(10):e0140943. doi:10.1371/journal.pone.0140943.
Dew MA, Becker JT, Sanchez J, Caldararo R, Lopez OL, Wess L, et al. Prevalence and predictors of depression, anxiety and substance use disorders in HIV-infected and uninfected men: a longitudinal evaluation. Psychol Med. 1997;27(2):395-409. doi:10.1017/s0033291796004552.
Bing EG, Bumam MA, Longshore D, Fleishman JA, Sherbourne CD, London AS, et al. Psychiatric disorders and drug use among human immunodeficiency virus-infected adults in the United States. Arch Gen Psychiatry. 2001;58(8):721-8. doi:10.1001/archpsyc.58.8.721.
de Pinho CSN, Santana RD, Campos EM, Pires Neto RDJ. Prevalence and factors associated with depression in people living with HIV/AIDS in a Brazilian metropolitan region. AIDS Care. 2022;34(12):1580-5. doi:10.1080/09540121.2022.2100866.
Mohamud AK, Ahmed OA, Mohamud AA, Dirie NI. Prevalence of and factors associated with depression among adult patients living with HIV/AIDs undergoing ART unit in Banadir hospital, Mogadishu Somalia. BMC Psychiatry. 2023;23(1):232. doi:10.1186/s12888-023-04723-x.
Abdisa E, Tolesa T, Abadiga M. Prevalence of depressive symptoms and its associated factors among people living with HIV attending public hospitals of Nekemte town, Western Ethiopia, 2021. Behav Neurol. 2021;2021:8854791. doi:10.1155/2021/8854791.
สุวรรณา อรุณพงค์ไพศาล, พุนศรี รังสีขจี, นิรมล พัจนสุนทร, สุรพล วีระศิริ, สุชาติ พหลภาคย์, ธวัชชัย กฤษณะประกรกิจ. การพัฒนาเครื่องมือคัดกรองภาวะซึมเศร้าชื่อ Khon Kaen University Depression Inventory (KKU-DI) สำหรับคนไทยในชุมชนภาคตะวันออกเฉียงเหนือ [Development of Khon Kaen university depression inventory (KKU-DI) as a depressive measurement for northeastern Thai population]. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย. 2549;51(4):330-48.
Reis RK, Melo ES, Castrighini CD, Galvao MT, Malaguti SE, Gir E. Prevalence and factors associated with depressive symptoms in individuals living with HIV/AIDS. Salud Ment. 2017;40(2):27-31. doi: 10.17711/sm.0185-3325.2017.008.
Oko RE, Awosan KJ, Oche MO, Yunusa MA. Prevalence and pattern of depression among HIV positive on treatment at the ART clinic of UDUTH, Sokoto, Nigeria. Int Arch Med. 2019;1(1):8-15. doi:10.33515/iamms/2019.002/2.
รัฐกานต์ ปาระมี. ความชุกและปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดภาวะซึมเศร้าในผู้ป่วยเอดส์ โรงพยาบาลแม่สาย [The prevalence and risk factors of depression among AIDS patients in Mae Sai hospital]. เชียงรายเวชสาร. 2563;12(1):31-43.
Mumang AA, Liaury K, Syamsuddin S, Maria IL, Tanra AJ, Ishida T, et al. Socio-economic-demographic determinants of depression in Indonesia: a hospital-based study. PLoS One. 2020;15(12):e0244108. doi:10.1371/journal.pone.0244108.
เตือนใจ ห่วงสายทอง. ความชุกของภาวะซึมเศร้า ภาวะวิตกกังวล และปัจจัยที่เกี่ยวข้องในผู้ป่วยโรคเอดส์ที่เข้ารับการรักษา ณ วัดพระบาทน้ำพุ จังหวัดลพบุรี [Prevalence of depression, anxiety and factors correlated among patients with AIDS at Phrabat Nampu temple Lopburi province] [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2546.
ทฏะวัฎร์ พิลึกภควัต. ความชุกของภาวะซึมเศร้าและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในผู้ป่วยเด็กและวัยรุ่นที่ติดเชื้อเอชไอวี [Prevalence of depression and factors correlated among children and adolescent patients with HIV infection]. วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย. 2557;22(3):186-94.
สาวิตรี วิษณุโยธิน, นชพร อิทธิวิศวกุล. แนวทางเวชปฏิบัติการดูแลผู้มีภาวะซึมเศร้า [The clinical practice guideline for depressive disorder]. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา. 2553;16(1):5-22.
Liu H, Zhao M, Ren J, Qi X, Sun H, Qu L, et al. Identifying factors associated with depression among men living with HIV/AIDS and undergoing antiretroviral therapy: a cross-sectional study in Heilongjiang, China. Health Qual Life Outcomes. 2018;16(1):190. doi:10.1186/s12955-018-1020-x.
Junaid K, Ali H, Khan AA, Khan TA, Khan AM, Khan A, et al. Prevalence and associated factors of depression among patients with HIV/AIDS in Lahore, Pakistan: cross-sectional study. Psychol Res Behav Manag. 2021;14:77-84. doi:10.2147/PRBM.S268099.
Madundo K, Knettel BA, Knippler E, Mbwambo J. Prevalence, severity, and associated factors of depression in newly diagnosed people living with HIV in Kilimanjaro, Tanzania: a cross-sectional study. BMC Psychiatry. 2023;23(1):83. doi:10.1186/s12888-022-04496-9.
Nyongesa MK, Mwangi P, Wanjala SW, Mutua AM, Newton CRJC, Abubakar A. Prevalence and correlates of depressive symptoms among adults living with HIV in rural Kilifi, Kenya. BMC Psychiatry. 2019;19(1):333. doi:10.1186/s12888-019-2339-5.
Thai TT, Jones MK, Harris LM, Heard RC, Hills NK, Lindan CP. Symptoms of depression in people living with HIV in Ho Chi Minh city, Vietnam: prevalence and associated factors. AIDS Behav. 2018;22(Suppl 1):76-84. doi:10.1007/s10461-017-1946-8.
Yunihastuti E, Lestari Agusin R, Sari V, Jhariah Hidayah A, Wulunggono W, Pramukti H, et al. Prevalence and associated factors of depressive symptoms among people living with HIV on antiretroviral therapy in Jakarta, Indonesia. Trop Med Int Health. 2021;26(8):908-15. doi:10.1111/tmi.13597.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
- ผู้อ่านสามารถนำข้อความ ข้อมูล จากวารสารไปใช้ไปใช้ประโยชน์ทางวิชาการได้ เช่น เพื่อการสอน เพื่อการอ้างอิง แต่การนำไปใช้เพื่อวัตถุประสงค์อื่น เช่น เพื่อการค้า จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากกรมสุขภาพจิตก่อน
- ความคิดเห็น ข้อมูล และบทสรุปต่าง ๆ ที่ลงตีพิมพ์ในวารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทยเป็นของผู้เขียนบทความและมิได้แสดงว่ากองบรรณาธิการหรือกรมสุขภาพจิตเห็นพ้องด้วย