โรคเครียดภายหลังเหตุการณ์สะเทือนขวัญเนื่องจากการทำงาน

ผู้แต่ง

  • ภัทรภณ แจ่มมิน, พ.บ. โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา จังหวัดชลบุรี
  • จารุพงษ์ พรหมวิทักษ์, ส.ม. โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา จังหวัดชลบุรี
  • วรงค์ สิทธิศรัณย์กุล, พ.บ. โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา จังหวัดชลบุรี
  • พริษฐ์ โพธิ์งาม, พ.บ. โรงพยาบาลสมเด็จพระบรมราชเทวี ณ ศรีราชา จังหวัดชลบุรี

คำสำคัญ:

การประสบอันตรายแก่จิตใจเนื่องจากการทำงาน, พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537, โรคเครียดภายหลังเหตุการณ์สะเทือนขวัญ, โรคเนื่องจากการทำงาน, เหตุการณ์สะเทือนขวัญ

บทคัดย่อ

        กระทรวงแรงงานได้กำหนดโรคเครียดภายหลังเหตุการณ์สะเทือนขวัญ (post-traumatic stress disorder: PTSD) ไว้ในประกาศกระทรวงแรงงาน เรื่อง กำหนดชนิดของโรคซึ่งเกิดขึ้นตามลักษณะ หรือสภาพของงาน หรือเนื่องจากการทำงาน พ.ศ. 2566 เพื่อปกป้องผลประโยชน์ของลูกจ้างในกรณีที่ได้รับผลกระทบแก่จิตใจจาก PTSD ที่เกิดขึ้นจากการทำงานให้นายจ้าง ปัจจุบันการวินิจฉัย PTSD ใช้เกณฑ์การวินิจฉัยตามคู่มือวินิจฉัยและสถิติสำหรับความผิดปกติทางจิตฉบับที่ 5 ของสมาคมจิตแพทย์สหรัฐอเมริกา ร่วมกับการประเมินอาการและอาการแสดงโดยจิตแพทย์ ส่วนการวินิจฉัยความเกี่ยวเนื่องกับการทำงานของโรคยังไม่มีการกำหนดแนวทางที่ชัดเจน ซึ่งต้องพิจารณาทั้งประเด็นทางด้านกฎหมายและข้อเท็จจริงทางด้านการแพทย์
        บทความนี้ได้ทบทวนองค์ความรู้ทั้งมุมมองด้านกฎหมายและข้อเท็จจริงด้านการแพทย์ทั้งในระดับประเทศและสากล เพื่อกำหนดแนวทางในการวินิจฉัยความเกี่ยวเนื่องกับงานของ PTSD ให้ชัดเจน อันจะเป็นประโยชน์ต่อจิตแพทย์ แพทย์อาชีวเวชศาสตร์ และพนักงานเจ้าหน้าที่กองทุนเงินทดแทน เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อทั้งนายจ้างและลูกจ้างตามพระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537

Downloads

Download data is not yet available.

References

Niu S, Colosio C, Carugno M, Adisesh A. Diagnostic and exposure criteria for occupational diseases - guidance notes for diagnosis and prevention of the diseases in the ILO List of Occupational Diseases (revised 2010). Geneva: international labour organization; 2022.

Segal D, Marty M, Coolidge F. Diagnostic and statistical manual of mental disorders. 5th ed. Arlington: American Psychiatric Association; 2013.

North C, Hong B, Downs D. PTSD: a systematic approach to diagnosis and treatment. Curr Psychiatr. 2018;17(4):35-43.

Skogstad M, Skorstad M, Lie A, Conradi HS, Heir T, Weisæth L. Work-related post-traumatic stress disorder. Occup Med (Lond). 2013;63(3):175-82. doi:10.1093/occmed/kqt003.

Colosio C, Niu S, Laan G. 1658 The new ilo list of occupational diseases: guidance notes on diagnostic criteria for occupational diseases included in the ilo list. Occup Environ Med. 2018;75(Suppl2):A229-30. doi:10.1136/oemed-2018-ICOHabstracts.650.

กระทรวงแรงงาน. ประกาศกระทรวง เรื่อง กำหนดชนิดของโรคซึ่งเกิดขึ้นตามลักษณะ หรือสภาพของงาน หรือเนื่องจากการทำงาน พ.ศ. 2566 [Notification of the ministry of labor on specifying the types of diseases occurring by characteristics or the condition of the work or due to work, B.E. 2566]. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 140 ตอนพิเศษ 29 ง (ลงวันที่ 7 กุมภาพันธ์ 2566).

สำนักงานประกันสังคม. พระราชบัญญัติเงินทดแทน พ.ศ. 2537 [Workmen's compensation act, B.E. 2537]. ราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เล่มที่ 111 ตอนที่ 28 ก (ลงวันที่ 30 มิถุนายน 2537).

ศิรินาฏ สฤษดิพันธ์. การประสบอันตรายเนื่องจากการทำงานให้แก่นายจ้าง [Work-related injury] [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต]. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์; 2550.

Greaves WW, Das R, McKenzie JG, Sinclair DC 2nd, Hegmann KT. Work-relatedness. J Occup Environ Med. 2018;60(12):e640-6. doi:10.1097/JOM.0000000000001492.

Zimbardo P, Sword R, Sword R. The time cure: overcoming PTSD with the new psychology of time perspective therapy. California: Jossey-Bass; 2012.

Flannery RB Jr. News journalists and postruamatic stress disorder: a review of literature, 2011-2020. Psychiatr Q. 2022;93(1):151-9. doi:10.1007/s11126-021-09920-z.

Petrie K, Milligan-Saville J, Gayed A, Deady M, Phelps A, Dell L, et al. Prevalence of PTSD and common mental disorders amongst ambulance personnel: a systematic review and meta-analysis. Soc Psychiatry Psychiatr Epidemiol. 2018;53(9):897-909. doi:10.1007/s00127-018-1539-5.

Geronazzo-Alman L, Eisenberg R, Shen S, Duarte CS, Musa GJ, Wicks J, et al. Cumulative exposure to work-related traumatic events and current post-traumatic stress disorder in New York City's first responders. Compr Psychiatry. 2017;74:134-43. doi:10.1016/j.comppsych.2016.12.003.

Jahnke SA, Poston WS, Haddock CK, Murphy B. Firefighting and mental health: Experiences of repeated exposure to trauma. Work. 2016;53(4):737-44. doi:10.3233/WOR-162255.

กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม. ประกาศกระทรวง เรื่อง หลักเกณฑ์การวินิจฉัยและการประเมินสูญเสียสมรรถภาพของผู้ป่วยหรือบาดเจ็บด้วยโรคจากการทำงาน พ.ศ. 2540 [Notification of the ministry of labor and social welfare on criteria for diagnosis and assessment of loss of functionality of patients or injuries due to occupational diseases, B.E. 2540]. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 114 ตอนพิเศษ 39 ง (ลงวันที่ 30 พฤษภาคม 2540).

กระทรวงแรงงานและสวัสดิการสังคม. ประกาศกระทรวง เรื่อง หลักเกณฑ์การวินิจฉัยและการประเมินสูญเสียสมรรถภาพของผู้ป่วยหรือบาดเจ็บด้วยโรคจากการทำงาน (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2541 [Notification of the ministry of labor and social welfare on criteria for diagnosis and assessment of disability of patients or injuries due to occupational diseases (No. 2), B.E. 2541]. ราชกิจจานุเบกษา เล่มที่ 115 ตอนพิเศษ 31 ง (ลงวันที่ 24 เมษายน 2541).

Harrington JM, Newman Taylor AJ, Coggan D. Industrial injuries compensation. Br J Ind Med. 1991;48(9):577-8. doi:10.1136/oem.48.9.577.

วันชัย ศรีนวลนัด. งานสัมมนาเรื่องพยานทางการแพทย์ในกระบวนการยุติธรรมและในการพิจารณาคดีจริยธรรมแห่งวิชาชีพเวชกรรมที่สืบเนื่องจากมาตรฐานเวชปฏิบัติ [Seminar for expert witness testimony in medical liability and moral judgement in medical ethics] [อินเทอร์เน็ต]. นนทบุรี: แพทยสภา; 2561 [สืบค้นเมื่อวันที่ 10 พ.ค. 2566]. จาก: https://youtu.be/oEbeQyeQ-ug

อดุลย์ บัณฑุกุล. การวินิจฉัยโรคจากการทำงานโดยใช้ Nine steps in Occupational Diseases Diagnosis [Nine steps in Occupational Diseases Diagnosis]. วารสารกรมการแพทย์. 2559;41(2):5-12.

Occupational Safety & Health Administration (OSHA). Determination of work-relatedness (Standard No. 1904.5) [Internet]. Washington: OSHA; C2001 [cited 2023 Aug 9]. Available from: https://www.osha.gov/laws-regs/regulations/standardnumber/1904/1904.5

Ranavaya MI. Physician's guide to medicolegal practice. 1st ed. Chicago: American Medical Association; 2019.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2023-09-25