ความเครียด ความวิตกกังวล และภาวะซึมเศร้าของพยาบาลที่ทำงานในหน่วยคัดกรองโรคโควิด 19 จังหวัดอุบลราชธานี
คำสำคัญ:
ความเครียด, วิตกกังวล, ภาวะซึมเศร้า, พยาบาล, โควิด 19บทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะซึมเศร้า ความวิตกกังวล และความเครียดของพยาบาลที่ทำงานคัดกรองโรคโควิด 19 ในระหว่างการแพร่ระบาดใหญ่
วิธีการ : การศึกษาแบบภาคตัดขวางในพยาบาลวิชาชีพที่ทำงานคัดกรองผู้ป่วยโควิด 19 ที่โรงพยาบาลรัฐบาลในจังหวัดอุบลราชธานี ระหว่างเดือนเมษายน พ.ศ. 2564 ถึงมกราคม พ.ศ. 2565 เครื่องมือประกอบด้วยข้อมูลส่วนบุคคล แบบคัดกรองภาวะเศร้า (PHQ-9) แบบวัดความวิตกกังวล (GAD-7) และแบบวัดความรู้สึกเครียด (PSS-10) วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและและค้นหาปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคะแนนปัญหาสุขภาพจิตด้วยการวิเคราะห์ถดถอยเชิงเส้น
ผล : กลุ่มตัวอย่าง 119 คน อายุเฉลี่ย 37.9 ± 8.6 ปี อายุงานเฉลี่ย 15.6 ± 8.7 ปี มีภาวะซึมเศร้า (PHQ-9 > 9 คะแนน) ความวิตกกังวล (GAD-7 > 9 คะแนน) และความเครียด (PSS-10 > 13 คะแนน) ในระดับปานกลางขึ้นไปร้อยละ 5.9, 0.8 และ 61.4 ตามลำดับ ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคะแนนภาวะซึมเศร้า คือ จำนวนสมาชิกในครอบครัวน้อย ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์คะแนนความวิตกกังวล คือ ระดับการศึกษาปริญญาตรี ไม่พบปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับคะแนนความเครียด
สรุป : พยาบาลในหน่วยคัดกรองโรคโควิด 19 ส่วนใหญ่มีภาวะซึมเศร้าและความวิตกกังวลในระดับเล็กน้อยและมีภาวะเครียดในระดับปานกลาง ควรมีการเฝ้าระวังและป้องกันปัญหาสุขภาพจิตในพยาบาลที่ขาดหรือมีแหล่งสนับสนุนทางสังคมน้อย
Downloads
References
World Heatlh Organization. Rolling updates on coronavirus disease (COVID-19) [Internet]. Geneva: World Health Organization; 2020 [cited 2021 Jan 21]. Available from: https://www.who.int/emergencies/diseases/novel-coronavirus-2019/events-as-they-happen
Haileamlak A. The impact of COVID-19 on health and health systems. Ethiop J Health Sci. 2021;31(6):1073-4. doi:10.4314/ejhs.v31i6.1.
Duden GS, Gersdorf S, Stengler K. Global impact of the COVID-19 pandemic on mental health services: a systematic review. J Psychiatr Res. 2022;154:354-77. doi:10.1016/j.jpsychires.2022.08.013.
Mallah SI, Ghorab OK, Al-Salmi S, Abdellatif OS, Tharmaratnam T, Iskandar MA, et al. COVID-19: breaking down a global health crisis. Ann Clin Microbiol Antimicrob. 2021;20(1):35. doi:10.1186/s12941-021-00438-7.
World Health Organization. State of the world's nursing 2020: investing in education, jobs and leadership [Internet]. Geneva: World Health Organization; 2020 [cited 2021 Jan 21]. Available from: https://www.who.int/publications/i/item/9789240003279
Fernandez R, Lord H, Halcomb E, Moxham L, Middleton R, Alananzeh I, et al. Implications for COVID-19: a systematic review of nurses' experiences of working in acute care hospital settings during a respiratory pandemic. Int J Nurs Stud. 2020;111:103637. doi:10.1016/j.ijnurstu.2020.103637.
Ding S, Deng S, Zhang Y, Wang Q, Liu Z, Huang J, Yang X. Experiences and needs of front-line nurses during the COVID-19 pandemic: a systematic review and qualitative meta-synthesis. Front Public Health. 2022;10:805631. doi:10.3389/fpubh.2022.805631.
Jang HY, Yang JE, Shin YS. A phenomenological study of nurses' experience in caring for COVID-19 patients. Int J Environ Res Public Health. 2022;19(5):2924. doi:10.3390/ijerph19052924.
Huang L, Lei W, Xu F, Liu H, Yu L. Emotional responses and coping strategies in nurses and nursing students during COVID-19 outbreak: a comparative study. PLoS One. 2020;15(8):e0237303. doi:10.1371/journal.pone.0237303.
Babamohamadi H, Davari H, Safari AA, Alaei S, Pordanjani SR. The association between workload and quality of work life of nurses taking care of patients with COVID-19. BMC Nurs. 2023;22(1):234. doi:10.1186/s12912-023-01395-6.
Galletta M, Piras I, Finco G, Meloni F, D'Aloja E, Contu P, et al. Worries, preparedness, and perceived impact of Covid-19 pandemic on nurses' mental health. Front Public Health. 2021;9:566700. doi:10.3389/fpubh.2021.566700.
Batra K, Singh TP, Sharma M, Batra R, Schvaneveldt N. Investigating the psychological impact of COVID-19 among healthcare workers: a meta-analysis. Int J Environ Res Public Health. 2020;17(23):9096. doi:10.3390/ijerph17239096.
Martin SD, Brown LM, Reid WM. Predictors of nurses' intentions to work during the 2009 influenza A (H1N1) pandemic. Am J Nurs. 2013;113(12):24-31. doi:10.1097/01.NAJ.0000438865.22036.15.
Shiao JS, Koh D, Lo LH, Lim MK, Guo YL. Factors predicting nurses' consideration of leaving their job during the SARS outbreak. Nurs Ethics. 2007;14(1):5-17. doi:10.1177/0969733007071350.
กองยุทธศาสตร์และแผนงาน กรมสุขภาพจิต. แผนฟื้นฟูจิตใจในสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) [Combat 4th wave of COVID-19 plan: C4] [อินเทอร์เน็ต]. นนทบุรี: กอง; 2563 [สืบค้นเมื่อวันที่ 21 ม.ค. 2564]. จาก: https://www.dmh.go.th/intranet/p2554/แผนฟื้นฟูจิตใจ-ฉบับปรับปรุง.pdf
กรมควบคุมโรค. สถานการณ์ผู้ติดเชื้อ COVID-19 อัพเดทรายสัปดาห์ ในรูปแบบ API [The situation of infected people with COVID-19 is updated weekly in API format] [อินเทอร์เน็ต]. นนทุบรี: กรม; 2564. [สืบค้นเมื่อวันที่ 30 ม.ค. 2564]. จาก: https://COVID19.ddc.moph.go.th/.
กรมสุขภาพจิต. ข้อมูลสุขภาพจิตคนไทย [Mental Health Check In] [อินเทอร์เน็ต]. นนทุบรี: กรม; 2564. [สืบค้นเมื่อวันที่ 27 ส.ค. 2566]. จาก:https://checkin.dmh.go.th/dashboards/dash01
ศูนย์บริหารสถานการณ์ โควิด-19 (ศบค.) สำนักเลขาธิการนายกรัฐมนตรี. สถานการณ์ โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 [Coronavirus disease 2019 (COVID-19] [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: ศูนย์; 2564 [สืบค้นเมื่อวันที่ 21 ส.ค. 2566]. จาก: https://media.thaigov.go.th/uploads/public_img/source/311264.pdf
ศูนย์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สำนักงานสถิติแห่งชาติ. สัดส่วนเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์ต่อประชากร [Ratio of medical staff to population] [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: ศูนย์; 2564 [สืบค้นเมื่อวันที่ 21 ส.ค. 2566]. จาก: http://ittdashboard.nso.go.th/preview.php?id_project=60
สำนักงานสถิติจังหวัดอุบลราชธานี. รายงานวิเคราะห์สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคโควิด 19 จังหวัดอุบลราชธานี พ.ศ. 2564 [Analysis of the situation of the epidemic of COVID-19, Ubon Ratchathani province, 2021]. พิมพ์ครั้งที่ 1. อุบลราชธานี: สำนักงาน; 2564.
Fang XH, Wu L, Lu LS, Kan XH, Wang H, Xiong YJ, et al. Mental health problems and social supports in the COVID-19 healthcare workers: a Chinese explanatory study. BMC Psychiatry. 2021;21(1):34. doi:10.1186/s12888-020-02998-y.
คัคนานต์ วะรงค์, ธีระวุธ ธรรมกุล. ความสัมพันธ์ระหว่างการสนับสนุนทางสังคมและภาวะหมดไฟในการทำงานช่วงวิกฤติโควิด-19 ของผู้ปฏิบัติงานด้านสาธารณสุขในองค์การบริหารส่วนจังหวัดอุบลราชธานี [Association between social support and burnout syndrome during the COVID-19 crisis among public health workers in Ubon Ratchathani provincial administrative organization]. วารสารสำนักงานป้องกันควบคุมโรคที่ 10 จังหวัดอุบลราชธานี. 2565;20(1):77-91.
Lotrakul M, Sumrithe S, Saipanish R. Reliability and validity of the Thai version of the PHQ-9. BMC Psychiatry. 2008;8:46. doi:10.1186/1471-244X-8-46.
Spitzer RL, Kroenke K, Williams JB, Löwe B. A brief measure for assessing generalized anxiety disorder: the GAD-7. Arch Intern Med. 2006;166(10):1092-7. doi:10.1001/archinte.166.10.1092.
Wongpakaran N, Wongpakaran T. The Thai version of the PSS-10: an investigation of its psychometric properties. Biopsychosoc Med. 2010;4:6. doi:10.1186/1751-0759-4-6.
Saeedi M, Abedini Z, Latif M, Piruzhashemi M. Correlation between COVID-19-related health anxiety and coping styles among frontline nurses. BMC Nurs. 2023;22(1):238. doi:10.1186/s12912-023-01344-3.
Koksal E, Dost B, Terzi Ö, Ustun YB, Özdin S, Bilgin S. Evaluation of depression and anxiety levels and related factors among operating theater workers during the novel coronavirus (COVID-19) pandemic. J Perianesth Nurs. 2020;35(5):472-7. doi:10.1016/j.jopan.2020.06.017.
จิราพร ชมพิกุล, ปราณี สุทธิสุคนธ์, เกรียงศักดิ์ ซื่อเลื่อม, ดุษณี ดํามี. รายงานการวิจัย สัมพันธภาพในครอบครัวไทย [Research report Thai family relationship] [อินเทอร์เน็ต]. นครปฐม: สถาบันพัฒนาการสาธารณสุขอาเซียน มหาวิทยาลัยมหิดล; 2552 [สืบค้นเมื่อวันที่ 21 ส.ค. 2566]. จาก: https://aihd.mahidol.ac.th/resourcecenter/wp-content/uploads/2022/04/รายงานการวิจัย-สัมพันธภาพในครอบครัวไทย.pdf
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
- ผู้อ่านสามารถนำข้อความ ข้อมูล จากวารสารไปใช้ไปใช้ประโยชน์ทางวิชาการได้ เช่น เพื่อการสอน เพื่อการอ้างอิง แต่การนำไปใช้เพื่อวัตถุประสงค์อื่น เช่น เพื่อการค้า จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากกรมสุขภาพจิตก่อน
- ความคิดเห็น ข้อมูล และบทสรุปต่าง ๆ ที่ลงตีพิมพ์ในวารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทยเป็นของผู้เขียนบทความและมิได้แสดงว่ากองบรรณาธิการหรือกรมสุขภาพจิตเห็นพ้องด้วย