การเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากยาที่เกี่ยวข้องกับการรักษาโรคโควิด 19 ในผู้ป่วยที่ได้รับยาจิตเวช
คำสำคัญ:
โควิด 19, ยาจิตเวช, ยารักษาโควิด 19, อันตรกิริยาทางยา, อาการไม่พึงประสงค์จากยาบทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ : ศึกษาการเกิดอาการไม่พึงประสงค์จากยาในผู้ป่วยที่ได้รับการรักษาโรคโควิด 19 ร่วมกับยาจิตเวช
วิธีการ : ศึกษาข้อมูลย้อนหลังในผู้ป่วยจิตเวชที่ได้รับยารักษาโรคโควิด 19 จากเวชระเบียนผู้ป่วยโรงพยาบาลจิตเวชนครสวรรค์ราชนครินทร์ กรกฎาคม - สิงหาคม พ.ศ. 2564 เก็บข้อมูลการสั่งใช้ยา ผลทางห้องปฏิบัติการ และการเกิดอาการไม่พึงประสงค์ตรวจสอบยาที่น่าจะเป็นสาเหตุด้วย Naranjo’s algorithm วิเคราะห์ความสัมพันธ์ของการเกิดอาการไม่พึงประสงค์และการใช้ยาด้วยสถิติ Fisher’s exact test
ผล : กลุ่มตัวอย่าง 23 คน เป็นเพศชายทั้งหมด อายุเฉลี่ย 33.39 ± 8.23 ปี ได้รับการวินิจฉัยโรคจิตเภทร้อยละ 78.3 ความรุนแรงของโรคโควิด 19 ระดับน้อยร้อยละ 65.2 ส่วนใหญ่ได้รับการรักษาโควิด 19 ด้วย favipiravir (3,600 มก. ต่อวัน ในวันแรก และ 1,600 มก. ต่อวันในวันที่ 2 - 10) ร่วมกับ lopinavir/ritonavir และ dexamethasone อาการไม่พึงประสงค์จากยา ได้แก่ tremor 2 เหตุการณ์ และ hyperglycemia, fatigue, dystonia, tachycardia และ diarrhea อย่างละ 1 เหตุการณ์ พบค่าการทำงานของตับ (AST และ ALT) สูงขึ้นจากค่าพื้นฐานประมาณ 2 เท่าในผู้ที่ได้รับ favipiravir + lopinavir/ritonavir + dexamethasone พบความสัมพันธ์ระหว่างคู่อันตรกิริยาระหว่างยากับการเกิดอาการไม่พึงประสงค์ระหว่าง dexamethasone กับการเกิด hyperglycemia (p = .043) และพบแนวโน้มความสัมพันธ์ระหว่าง lopinavir/ritonavir + haloperidol กับการเกิด tremor (p = .087)
สรุป : อาการไม่พึงประสงค์จากการรักษาด้วยยารักษาโรคโควิด 19 ร่วมกับยาจิตเวชยังพบไม่บ่อยและส่วนใหญ่ไม่รุนแรง อย่างไรก็ตามผู้ที่ได้รับยาทั้งสองกลุ่มร่วมกันควรได้รับเฝ้าระวังอาการไม่พึงประสงค์จากยา โดยเฉพาะ extrapyramidal symptoms รวมถึงการติดตามผลทางห้องปฏิบัติการ
Downloads
References
มะลิ วิโรจน์แสงทอง. โรคติดเชื้อโคโรนาไวรัส 2019 [Coronavirus disease 2019, COVID-19] [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: คณะเภสัชศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย; 2563 [สืบค้นเมื่อวันที่ 25 ธ.ค. 2565]. จาก: https://ccpe.pharmacycouncil.org/index.php?option=article_detail&subpage=article_detail&id=903
Guo YR, Cao QD, Hong ZS, Tan YY, Chen SD, Jin HJ, et al. The origin, transmission and clinical therapies on coronavirus disease 2019 (COVID-19) outbreak - an update on the status. Mil Med Res. 2020;7(1):11. doi:10.1186/s40779-020-00240-0.
Markiewicz-Gospodarek A, Górska A, Markiewicz R, Chilimoniuk Z, Czeczelewski M, Baj J, et al. The relationship between mental disorders and the COVID-19 pandemic-course, risk factors, and potential consequences. Int J Environ Res Public Health. 2022;19(15):9573. doi:10.3390/ijerph19159573.
Wang Q, Xu R, Volkow ND. Increased risk of COVID-19 infection and mortality in people with mental disorders: analysis from electronic health records in the United States. World Psychiatry. 2021;20(1):124-30. doi:10.1002/wps.20806.
Jirjees F, Saad AK, AI Hano Z, Hatahet T, AI Obaidi H, Dallal Bashi YH. COVID-19 treatment guidelines: do they really reflect best medical practices to manage the pandemic? Infect Dis Rep. 2021;13(2):259-84. doi:10.3390/idr13020029.
Ostuzzi G, Papola D, Gastaldon C, Schoretsanitis G, Bertolini F, Amaddeo F, et al. Safety of psychotropic medications in people with COVID-19: evidence review and practical recommendations. BMC Med. 2020;18(1):215. doi:10.1186/s12916-020-01685-9.
Bishara D, Kalafatis C, Taylor D. Emerging and experimental treatments for COVID-19 and drug interactions with psychotropic agents. Ther Adv Psychopharmacol. 2020;10:2045125320935306. doi:10.1177/2045125320935306.
The university of Liverpool. COVID-19 Drug Interactions [Internet]. Liverpool: 2021 [cited 2021 Sep 9]. Available from: https://www.covid19-druginteractions.org/.
พัทรียา โภคะกุล, วัชรี รุ่งอภิรมย์นันท์, บรรณาธิการ. คู่มือการดำเนินงานการเฝ้าระวังความปลอดภัยจากการใช้ยาที่ใช้รักษาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 เชิงรุก [Operation manual for proactive surveillance of the use of drugs used to treat coronavirus disease 2019]. นนทบุรี: สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา กระทรวงสาธารณสุข; 2565.
ธีวรา โลมรัตน์, ตุลาการ นาคพันธ์. การประเมินประสิทธิผลของยาฟาวิพิราเวียร์ในผู้ป่วยโควิด-19 ที่รับการรักษาในโรงพยาบาลกุดข้าวปุ้น จังหวัดอุบลราชธานี [Evalution on efficacy of favipiravir for treatment of Covid-19 at Kutkhaopun hospital Ubonratchathani province]. วารสารสุขภาพและสิ่งแวดล้อม. 2565;7(2):8-16.
สำนักงานคณะกรรมการอาหารและยา. สรุปรายงานอาการไม่พึงประสงค์จากการใช้ยา ประจำปี 2561-2562 [Spontaneous reports of adverse drug reaction 2018-2019]. กรุงเทพฯ: กราฟฟิคแอนด์ดิไซน์; 2561.
กรมสุขภาพจิต กระทรวงสาธารณสุข. แนวทางการดูแลผู้ป่วยจิตเวชที่มีความเสี่ยงสูงต่อการก่อความรุนแรง สําหรับสถาบัน/โรงพยาบาลจิตเวช [Guideline for serious mental illness with high risk to violence in psychiatry hospital]. นนทบุรี: กรม; 2561.
Wu Z, McGoogan JM. Characteristics of and important lessons from the coronavirus disease 2019 (COVID-19) outbreak in China: summary of a report of 72 314 cases from the Chinese center for disease control and prevention. JAMA. 2020;323(13):1239-42. doi:10.1001/jama.2020.2648.
Naranjo CA, Busto U, Sellers EM, Sandor P, Ruiz I, Roberts EA, et al. A method for estimating the probability of adverse drug reactions. Clin Pharmacol Ther. 1981;30(2):239-45. doi:10.1038/clpt.1981.154.
Khan LM, Al-Harthi SE, Osman AM, Sattar MA, Ali AS. Dilemmas of the causality assessment tools in the diagnosis of adverse drug reactions. Saudi Pharm J. 2016;24(4):485-93. doi:10.1016/j.jsps.2015.01.010.
Ostuzzi G, Papola D, Gastaldon C, Schoretsanitis G, Bertolini F, Amaddeo F. et al. Safety of psychotropic medications in people with COVID-19: evidence review and practical recommendations. BMC Med. 2020;18(1):215. doi:10.1186/s12916-020-01685-9.
Bishara D, Kalafatis C, Taylor D. Emerging and experimental treatments for COVID-19 and drug interactions with psychotropic agents. Ther Adv Psychopharmacol. 2020;10:2045125320935306. doi:10.1177/2045125320935306.
Aberer F, Hochfellner DA, Sourij H and Mader JK. Practical guide for the management of steroid induced hyperglycemia in the hospital. J Cin Med. 2021;10;2154. doi:10.3390/jcm10102154.
Chen F, Hao L, Zhu S, Yang X, Shi W, Zheng K, et al. Potential adverse effects of dexamethasone therapy on COVID-19 patients: review and recommendations. Infect Dis Ther. 2021;10(4):1907-31. doi:10.1007/s40121-021-00500-z.
Surmelioglu N, Demirkan. COVID-19 drug interactions. J Crit Intensive Care. 2020;11(Suppl 1):43-45. doi:10.37678/dcybd.2020.2409.
Pilla Reddy V, El-Khateeb E, Jo H, Giovino N, Lythgoe E, Sharma S, et al. Pharmacokinetics under the COVID-19 storm. Br J Clin Pharmacol. 2023;89(1):158-86. doi:10.1111/bcp.14668.
Sodeifian F, Seyedalhosseini ZS, Kian N, Eftekhari M, Najari S, Mirsaeidi M, et al. Drug-induced liver injury in COVID-19 patients: a systematic review. Front Med (Lausanne). 2021;8:731436. doi:10.3389/fmed.2021.731436.
พรรณี ลีลาวัฒนชัย, ธนานันต์ ตัณฑ์ไพบูลย์. Favipiravir สำหรับรักษาโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 [Favipiravir for the treatment of coronavirus disease 2019]. วารสารเภสัชกรรมโรงพยาบาล. 2564;31(2):141-57.
Manabe T, Kambayashi D, Akatsu H, Kudo K. Favipiravir for the treatment of patients with COVID-19: a systematic review and meta-analysis. BMC Infect Dis. 2021;21(1):489. doi:10.1186/s12879-021-06164-x.
Lowe DM, Brown LK, Chowdhury K, Davey S, Yee P, Ikeji F, et al. Favipiravir, lopinavir-ritonavir, or combination therapy (FLARE): a randomised, double-blind, 2 × 2 factorial placebo-controlled trial of early antiviral therapy in COVID-19. PLoS Med. 2022;19(10):e1004120. doi:10.1371/journal.pmed.1004120.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2023 วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
- ผู้อ่านสามารถนำข้อความ ข้อมูล จากวารสารไปใช้ไปใช้ประโยชน์ทางวิชาการได้ เช่น เพื่อการสอน เพื่อการอ้างอิง แต่การนำไปใช้เพื่อวัตถุประสงค์อื่น เช่น เพื่อการค้า จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากกรมสุขภาพจิตก่อน
- ความคิดเห็น ข้อมูล และบทสรุปต่าง ๆ ที่ลงตีพิมพ์ในวารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทยเป็นของผู้เขียนบทความและมิได้แสดงว่ากองบรรณาธิการหรือกรมสุขภาพจิตเห็นพ้องด้วย