ความชุกของภาวะซึมเศร้าและปัจจัยที่เกี่ยวข้องในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังที่ได้รับการรักษาด้วยการฟอกเลือด คลินิกไตเทียม โรงพยาบาลสกลนคร
คำสำคัญ:
การฟอกไตทางหลอดเลือด, ไตวายเรื้อรังระยะสุดท้าย, ภาวะซึมเศร้าบทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ : เพื่อศึกษาความชุกและปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับภาวะซึมเศร้าของผู้ป่วยไตวายเรื้อรังที่ได้รับการรักษาด้วยการฟอกเลือด แผนกไตเทียม โรงพยาบาลสกลนคร
วิธีการ : เป็นการวิจัยเชิงพรรณนาภาคตัดขวางในกลุ่มผู้ป่วยจำนวน 76 คน เครื่องมือที่ใช้ประเมิน ได้แก่ แบบสอบถามข้อมูลทั่วไป ประวัติการเจ็บป่วย แบบประเมินภาวะซึมเศร้า Beck depression inventory-II (BDI-II) โดยถือเกณฑ์มากกว่าหรือเท่ากับ 14 คะแนน ถือว่ามีภาวะซึมเศร้า และประเมินภาวะพึ่งพิงด้วย Barthel index ฉบับภาษาไทย วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา, chi-square test, Mann-Whitney U test และการวิเคราะห์ multiple linear regression
ผล : ผู้ป่วยมีภาวะซึมเศร้า (BDI ≥ 14 คะแนน) จำนวน 26 คน คิดเป็นร้อยละ 34.2 ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ เพศหญิง การมีโรคหัวใจร่วมด้วย ระยะเวลาที่รักษาด้วยการฟอกไตผ่านทางหน้าท้อง จำนวนครั้งที่ต้องนอนรักษาตัวในโรงพยาบาลใน 1 ปี การมีปัญหาการควบคุมระบบขับถ่าย และภาวะพึ่งพิง การวิเคราะห์ multiple logistic regression พบว่า เพศหญิง จำนวนครั้งที่นอนรักษาตัวในโรงพยาบาล และปัญหาการขับถ่าย เป็นปัจจัยที่ทำนายการเกิดภาวะซึมเศร้า
สรุป : ภาวะซึมเศร้าเป็นปัญหาสุขภาพที่สำคัญในผู้ป่วยไตวายเรื้อรังที่รับการรักษาด้วยการฟอกเลือด ผู้ให้การรักษาควรเพิ่มการเฝ้าระวัง โดยเฉพาะผู้ป่วยที่มีความเสี่ยงดังกล่าว
Downloads
References
อนันต์ เชื้อสุวรรณ, อดิสรณ์ ลําเพาพงศ์. ข้อมูลการบำบัดทดแทนไตในประเทศไทย พ.ศ. 2563 [Thailand renal replacement therapy year 2020] [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: คณะอนุกรรมการการลงทะเบียนรักษาทดแทนไต สมาคมโรคไตแห่งประเทศไทย; 2563 [สืบค้นเมื่อวันที่ 8 เม.ย. 2565]. จาก: https://www.nephrothai.org/wp-content/uploads/2021/10/Final-TRT-report-2020.pdf
World Health Organization. Depression and other common mental disorders: global health estimates. Geneva: World Health Organization; 2017 [cited 2022 Apr 8]. Available from http://apps.who.int/iris/bitstream/handle/10665/254610/WHO-MSD-MER-2017.2-eng.pdf;sequence=1
พันธุ์นภา กิตติรัตนไพบูลย์, นพพร ตันติรังสี, วรวรรณ จุฑา, อธิป ตันอารีย์, ปทานานท์ ขวัญสนิท, สาวิตรี อัษณางค์กรชัย. ความชุกของโรคจิตเวชและปัญหาสุขภาพจิต:การสำรวจระบาดวิทยาสุขภาพจิตของคนไทยระดับชาติ ปี พ.ศ. 2556 [Prevalence of mental health disorder and mental health problem: Thai national mental health survey 2013]. วาสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย. 2560;25(1):1-19.
Kimmel PL, Cukor D, Cohen SD, Peterson RA. Depression in end-stage renal disease patients: a critical review. Adv Chronic Kidney Dis. 2007;14(4):328-34. doi:10.1053/j.ackd.2007.07.007.
Shulman R, Price JD, Spinelli J. Biopsychosocial aspects of long-term survival on end-stage renal failure therapy. Psychol Med. 1989;19(4):945-54. doi:10.1017/s0033291700005663.
Drayer RA, Piraino B, Reynolds CF 3rd, Houck PR, Mazumdar S, Bernardini J, et al. Characteristics of depression in hemodialysis patients: symptoms, quality of life and mortality risk. Gen Hosp Psychiatry. 2006;28(4):306-12. doi:10.1016/j.genhosppsych.2006.03.008.
Teles F, Amorim de Albuquerque AL, Freitas Guedes Lins IK, Carvalho Medrado P, Falcão Pedrosa Costa A. Quality of life and depression in haemodialysis patients. Psychol Health Med. 2018;23(9):1069-78. doi:10.1080/13548506.2018.1469779.
Muhammad Jawad Zaidi S, Kaneez M, Bhatti HW, Khan S, Fatima S, Hamza M, et al. Exploring the predictive factors for depression among hemodialysis patients: a case-control study. BJPsych Open. 2021;7(Suppl 1):S43–4. doi:10.1192/bjo.2021.165.
ศิริอร สินธุ, รสสุคนธ์ วาริทสกุล, อรวมน ศรียุกตศุทธ. ปัจจัยที่สัมพันธ์กับภาวะซึมเศร้าในผู้สูงอายุที่รับการรักษา ด้วยการล้างไตทางช่องท้อง [Factors Associated with depression in elderly peritoneal dialysis patients]. วารสารพยาบาลศาสตร์. 2554;29(ฉบับเพิ่มเติม 2):84-92.
Alencar SBV, de Lima FM, Dias LDA, Dias VDA, Lessa AC, Bezerra JM, et al. Depression and quality of life in older adults on hemodialysis. Braz J Psychiatry. 2020;42(2):195-200 doi:10.1590/1516-4446-2018-0345.
Beck AT, Steer RA, Brown GK. Manual for the Beck Depression Inventory-II. San Antonio: Psychological Corporation; 1996.
ปิยะภัทร เดชพระธรรม, รัตนา มีนะพันธ์, ประเสริฐพร จันทร, สมลักษณ์ เพียรมานะกิจ, เยาวลักษณ์ จันทรเกษมจิต, อำไพ อยู่วัลย์. ความน่าเชื่อถือของแบบประเมินบาร์เธลฉบับไทยในผู้ป่วยโรคอัมพาตหลอดเลือดสมอง [The inter-rater reliability of Barthel index (Thai version) in stroke patients]. เวชศาสตร์ฟื้นฟูสาร. 2549;16(1):1-9.
Teles F, Azevedo VF, Miranda CT, Miranda MP, Teixeira MD, Elias RM. Depression in hemodialysis patients: the role of dialysis shift. Clinics (Sao Paulo). 2014;69(3):198-202. doi:10.6061/clinics/2014(03)10.
Shors TJ, Leuner B. Estrogen-mediated effects on depression and memory formation in females. J Affect Disord. 2003;74(1):85-96. doi:10.1016/s0165-0327(02)00428-7.
Keita GP. Psychosocial and cultural contributions to depression in women: considerations for women midlife and beyond. J Manag Care Pharm. 2007;13(9 Suppl A):S12-5. doi:10.18553/jmcp.2007.13.9-a.12.
Campbell J, Kub JE, Rose L. Depression in battered women. J Am Med Womens Assoc (1972). 1996;51(3):106-10.
Romans SE, Tyas J, Cohen MM, Silverstone T. Gender differences in the symptoms of major depressive disorder. J Nerv Ment Dis. 2007;195(11):905-11. doi:10.1097/NMD.0b013e3181594cb7.
สมพร รุ่งเรืองกลกิจ, ศิริพร จิรวัฒน์กุล, ธรณินทร์ กองสุข, สุพัตรา สุขาวห, จินตนา ลี้จงเพิ่มพูน, เยาวเรศ สุตะโท. เพศหญิง หรือ ความเป็นหญิง...จึงนำไปสู่การเป็นโรคซึมเศร้า [Sex or gender leading to a high risk of depressive disorder in women]. วารสารสมาคมจิตแพทย์แห่งประเทศไทย. 2555;57(1):61-74.
Chen CM, Huang GH, Chen CC. Older patients' depressive symptoms 6 months after prolonged hospitalization: course and interrelationships with major associated factors. Arch Gerontol Geriatr. 2014;58(3):339-43. doi:10.1016/j.archger.2013.12.007.
Koenig HG. Depression in hospitalized older patients with congestive heart failure. Gen Hosp Psychiatry. 1998;20(1):29-43. doi:10.1016/s0163-8343(98)80001-7.
Hosseinzadeh ST, Poorsaadati S, Radkani B, Forootan M. Psychological disorders in patients with chronic constipation. Gastroenterol Hepatol Bed Bench. 2011;4(3):159-63.
Ballou S, Katon J, Singh P, Rangan V, Lee HN, McMahon C, et al. Chronic diarrhea and constipation are more common in depressed individuals. Clin Gastroenterol Hepatol. 2019;17(13):2696-703. doi:10.1016/j.cgh.2019.03.046.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2022 วารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทย
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
- ผู้อ่านสามารถนำข้อความ ข้อมูล จากวารสารไปใช้ไปใช้ประโยชน์ทางวิชาการได้ เช่น เพื่อการสอน เพื่อการอ้างอิง แต่การนำไปใช้เพื่อวัตถุประสงค์อื่น เช่น เพื่อการค้า จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากกรมสุขภาพจิตก่อน
- ความคิดเห็น ข้อมูล และบทสรุปต่าง ๆ ที่ลงตีพิมพ์ในวารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทยเป็นของผู้เขียนบทความและมิได้แสดงว่ากองบรรณาธิการหรือกรมสุขภาพจิตเห็นพ้องด้วย