ความชุกของภาวะความเครียดของประชาชน (solastalgia) ต่อสภาวะหมอกควัน ของชุมชนตำบลพระบาท อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง
คำสำคัญ:
ความเครียด, ความเครียดจากปัญหาสิ่งแวดล้อมที่เปลี่ยนแปลงไป, หมอกควันไฟบทคัดย่อ
วัตถุประสงค์ : เพื่อประเมินภาวะ solastalgia จากการวัดระดับความเครียดของประชาชนต่อภาวะหมอกควัน ในพื้นที่ตำบลพระบาท อำเภอเมือง จังหวัดลำปาง
วิธีการ : เป็นวิจัยเชิงสำรวจโดยใช้แบบสอบถามและแบบประเมินความเครียด (SPST - 20) กลุ่มตัวอย่างเป็นประชาชนที่อาศัยอยู่ในตำบลพระบาทจำนวน 434 คน คัดเลือกแบบสุ่มตัวอย่างอย่างง่าย ให้กลุ่มตัวอย่างตอบแบบสอบถามและแบบประเมินความเครียดด้วยตนเอง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติพรรณา และเปรียบเทียบความสัมพันธ์ของความเครียดกับกับปัจจัยที่เกี่ยวข้องด้วยค่าสถิติไคสแควร์
ผล : กลุ่มตัวอย่างร้อยละ 66.4 มีความวิตกกังวลต่อสถานการณ์หมอกควันในระดับมากและมากที่สุด และมีความเครียดอยู่ในระดับสูงและรุนแรงร้อยละ 36.8 และระดับปานกลางร้อยละ 47.7 ทั้งนี้ระดับความเครียดไม่มีความสัมพันธ์กับเพศหรืออายุ แต่มีความสัมพันธ์กับระดับการศึกษา อาชีพ และความวิตกกังวลต่อสถานการณ์หมอกควันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ประชาชนส่วนใหญ่เห็นว่าหมอกควันจากไฟป่าเกิดจากการกระทำของคนและต้องการให้ทุกภาคส่วนร่วมมือกันในการแก้ไขปัญหาอย่างจริงจัง ผลกระทบที่ประชาชนได้รับมากที่สุดคือ สุขภาพกาย ได้แก่ ระบบทางเดินหายใจ รองลงมาคือผลกระทบด้านสุขภาพจิตจากความเครียด ความหดหู่ และวิตกกังวล
สรุป : ประชาชนในตำบลพระบาท จังหวัดลำปางเกิดภาวะ solastalgia จากการเกิดหมอกควันไฟป่า ควรมีการศึกษาเชิงลึกเพิ่มเติมเพื่อให้หาแนวทางการดูแลช่วยเหลือทางจิตใจที่เหมาะสม
Downloads
References
Bambrick HJ, Capon AG, Barnett GB, Beaty RM, Burton AJ. Climate change and health in the urban environment: adaptation opportunities in Australian cities. Asia Pac J Public Health. 2011;23(2 Suppl):675-9. doi:10.1177/1010539510391774.
World Health Organization. WHO global strategy on health, environment and climate change. Geneva: World Health Organization; 2019 [cited 2019 Dec 12]. Available from: https://www.who.int/docs/default-source/climate-change/who-global-strategy-on-health-environment-and-climate-change-a72-15.pdf?sfvrsn=20e72548_2
World Health Organization. Air pollution in the South-East Asia Region. Geneva: World Health Organization; 2018 [cited 2020 Dec 12]. Available from: https://www.who.int/docs/default-source/searo/wsh-och-searo/what-is-air-pollution-2019.pdf?sfvrsn=6dcc13ee_2
สำนักงานรัฐมนตรี กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม. รู้จักฝุ่นพิษ PM 2.5 ที่มากับมลภาวะ และวิธีการเลือกหน้ากากป้องกัน [now PM 2.5 toxic dust that comes with pollution and how to choose a protective mask] [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: สำนักงาน; 2562 [สืบค้นเมื่อวันที่ 25 ก.ย. 2563]. จาก: http://www.mnre.go.th/om/th/news/detail/31459
Vardoulakis S, Jalaludin BB, Morgan GG, Hanigan IC, Johnston FH. Bushfire smoke: urgent need for a national health protection strategy. The Medical Journal of Australia. 2020;212(8):349. doi: 10.5694/mja2.50511
World Health Organization. Health effects of particulate matter. Geneva: World Health Organization; 2013 [cited 2019 Dec 2]. Available from: https://www.euro.who.int/__data/assets/pdf_file/0006/189051/Health-effects-of-particulate-matter-final-Eng.pdf
World Health Organization. Public health and environment/Air pollution. Geneva: World Health Organization; 2016 [cited 2019 Dec 12]. Available from: https://www.who.int/data/gho/data/themes/topics/topic-details/GHO/ambient-air-pollution
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. ไฟป่า...ความสูญเสียที่ไม่อาจประเมินค่า [Wildfire ... losses that may not be evaluated] [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: ศูนย์; 8 พ.ค. 2563 [สืบค้นเมื่อวันที่ 2 ธ.ค. 2562]. จาก: https://www.kasikornresearch.com/th/analysis/k-social-media/Pages/Wildfire-FB080520.aspx
ส่วนควบคุมไฟป่า กรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช. ตารางแสดงพื้นที่ไฟไหม้ป่าในแต่ละจังหวัด ปีงบประมาณ 2563 (1 ตุลาคม 2562 ถึงวันที่ 1 มกราคม 2563) [Table showing forest fire areas in each province, fiscal year 2020 (1 Oct 2019 to 1 Jan 2020)] [อินเทอร์เน็ต]. กรุงเทพฯ: ส่วน; 2563 [สืบค้นเมื่อวันที่ 25 ก.ย. 2563]. จาก: http://www.dnp.go.th/forestfire/web/frame/statistic.html
ลำปาง - หมอกควันปกคลุมลำปางค่าฝุ่นสูงสุดในไทย เกินมาตรฐาน 9 วันติดต่อกัน เร่งฉีดพ่นชะล้างฝุ่นละอองในอากาศ [Lampang - Haze covers Lampang, the highest dust value in Thailand exceeds the standard 9 days in a row, accelerates spraying to wash away dust in the air] [อินเทอร์เน็ต]. โพสทูเดย์. 14 ม.ค. 2563 [สืบค้นเมื่อวันที่ 25 ก.ย. 2563]. จาก: https://www.posttoday.com/social/local/611621
สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม กรมควบคุมโรค. คู่มือการเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพจากปัญหาหมอกควันสำหรับบุคลากรสาธารณสุข (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2561) [Manual monitoring the health effects of smog problem for health personnel (Revised version 2018)]. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์อักษรกราฟฟิคแอนด์ดีไซน์; 2561.
กลุ่มสื่อสารและประชาสัมพันธ์ กรมสุขภาพจิต. กรมสุขภาพจิตห่วงใยปัญหาหมอกควันภาคเหนือ แนะใช้ 3 ส. รับมือช่วยลดเครียด [The Department of Mental Health concerned about the haze problem in the North and recommends 3-L to cope with stress] [อินเทอร์เน็ต]. นนทบุรี: กลุ่ม; 4 เม.ย. 2562 [สืบค้นเมื่อวันที่ 28 ก.พ. 2563]. จาก: http://www.prdmh.com/ข่าวสาร/ข่าวแจกกรมสุขภาพจิต/1361-กรมสุขภาพจิต-ห่วงใยปัญหาหมอกควันภาคเหนือ-แนะใช้-3-ส-รับมือช่วยลดเครียด
Albrecht G. 'Solastalgia': a new concept in health and identity. PAN: Philosophy Activism Nature. 2005;3:41-55. doi:10.4225/03/584f410704696.
Albrecht G, Sartore G-M, Connor L, Higginbotham N, Freeman S, Kelly B, et al. Solastalgia: The distress caused by environmental change. Australasian Psychiatry. 2007;15(1_suppl):S95-8. doi:10.1080/10398560701701288.
Askland HH, Bunn M. Lived experiences of environmental change: Solastalgia, power and place. Emotion, Space and Society. 2018;27:16-22. doi:10.1016/j.emospa.2018.02.003.
Seamus PM. What makes “a mental illness?” What makes “a new mental illness”?: The cases of solastalgia and hubris syndrome. Cosmos and History: The Journal of Natural and Social Philosophy. 2009;5(2):210-25.
Ines T, Laura M, Gaia Luisa M, Adriano Z, Mihaela B, Gabriela D. Solastalgia's mourning and the slowly evolving effect of asbestos pollution: a qualitative study in Italy. Heliyon. 2019;5(12):e03024. doi:10.1016/j.heliyon.2019.e03024.
Searle K, Gow K. Do concerns about climate change lead to distress?. International Journal of Climate Change Strategies and Management. 2010;2(4):362-79. doi:10.1108/17568691011089891.
Obradovich N, Migliorini R, Paulus MP, Rahwan I. Empirical evidence of mental health risks posed by climate change. Proc Natl Acad Sci U S A. 2018;115(43):10953-8. doi:10.1073/pnas.1801528115.
Warsini S, Mills J, Usher K. Solastalgia: Living With the environmental damage caused by natural disasters. Prehospital and Disaster Medicine. 2014;29(1):87-90. doi:10.1017/S1049023X13009266.
Doherty TJ, Clayton S. The psychological impacts of global climate change. Am Psychol 2011;66(4):265-76. doi:10.1037/a0023141.
Kjellstrom T, Weaver HJ. Climate change and health: impacts, vulnerability, adaptation and mitigation. N S W Public Health Bull. 2009;20(1-2):5-9. doi:10.1071/nb08053.
สุวัฒน์ มหัตนิรันดร์กุล, วนิดา พุ่มไพศาลชัย, พิมพ์มาศ ตาปัญญา. การสร้างแบบวัดความเครียดสวนปรุง [The Construction of Suan Prung Stress Test for Thai Population]. วารสารสวนปรุง. 2540;13(3):1-20.
กระทรวงสาธารณสุขเปิดผลสำรวจคนไทยเครียดลดลง หลังรัฐผ่อนคลายมาตรการ [The Ministry of Public Health has released the results of the survey of Thai people with reduced stress after the relaxed state] [อินเทอร์เน็ต]. สถานีโทรทัศน์ไทยพีบีเอส. 18 พ.ค. 2562 [สืบค้นเมื่อวันที่ 1 ส.ค. 2562]. จาก: https://news.thaipbs.or.th/content/292597
Eisenman D, McCaffrey S, Donatello I, Marshal G. An ecosystems and vulnerable populations perspective on solastalgia and psychological distress after a wildfire. EcoHealth. 2015;12(4):602-10. doi:10.1007/s10393-015-1052-1.
Moffic HS. While Australia Burns: What psychiatrists can learn from each other. (Cover story). Psychiatric Times. 2020;(2):5-33.
สุพิมล ขอผล, จินตวีร์พร แป้นแก้ว, ธณัชช์นรี สโรบล, สมพร สิทธิสงคราม, สายัณห์ ชัยศรีสวัสดิ์, สุมาลี ชัยศรีสวัสดิ์, และคณะ. การใช้การวิจัยเชิงปฏิบัติการแบบมีส่วนร่วมในการป้องกันและแก้ไขปัญหาการดื่มสุราในชุมชนหมู่บ้านหนองเต่าคำใหม่ ตำบลป่าไผ่ อำเภอสันทราย จังหวัดเชียงใหม่ [Use of participatory action research (PAR) in preventing and solving problems caused by alcohol consumption in the community of Nong Toa Kammai Village, Pa Phai sub-district, San Sai district, Chiang Mai province]. วารสารการพัฒนาชุมชนและคุณภาพชีวิต. 2557;2(3):313-24.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
How to Cite
ฉบับ
บท
License
- ผู้อ่านสามารถนำข้อความ ข้อมูล จากวารสารไปใช้ไปใช้ประโยชน์ทางวิชาการได้ เช่น เพื่อการสอน เพื่อการอ้างอิง แต่การนำไปใช้เพื่อวัตถุประสงค์อื่น เช่น เพื่อการค้า จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักษณ์อักษรจากกรมสุขภาพจิตก่อน
- ความคิดเห็น ข้อมูล และบทสรุปต่าง ๆ ที่ลงตีพิมพ์ในวารสารสุขภาพจิตแห่งประเทศไทยเป็นของผู้เขียนบทความและมิได้แสดงว่ากองบรรณาธิการหรือกรมสุขภาพจิตเห็นพ้องด้วย