สถิติสำหรับเปรียบเทียบผลก่อนและหลังการให้สิ่งแทรกแซงในงานวิจัยเชิงทดลอง

ผู้แต่ง

  • หัฎฐกร สำเร็จดี ภาควิชาจิตเวชศาสตร์ คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
  • สิรวิชญ์ สนโศก สาขาวิชาวิทยาการระบาดและชีวสถิติ คณะสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

คำสำคัญ:

สถิติ, ผลก่อนและหลัง, สิ่งแทรกแซง, วิจัยเชิงทดลอง

บทคัดย่อ

งานวิจัยเชิงทดลองที่มีกลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุม แบ่งเป็นกลุ่มที่ได้รับสิ่งแทรกแซง และไม่ได้รับสิ่งแทรกแซงที่กำหนด รวม 2 กลุ่ม มีการวัดผลซ้ำก่อนหลังเพื่อติดตามการเปลี่ยนแปลง จะได้ผลลัพธ์ทั้งสิ้น 4 ตัวแปร สำหรับการใช้สถิติเพื่อวิเคราะห์ข้อมูลสร้างความสับสนแก่ผู้วิจัยอย่างมากเนื่องจากมีการเปรียบเทียบความแตกต่างในกลุ่มเดียวกัน และเปรียบเทียบระหว่างกลุ่ม ซึ่งสถิติที่เหมาะสมสำหรับข้อมูลแบบต่อเนื่องคือการวิเคราะห์แปรปรวนร่วม (analysis of covariance; ANCOVA)

References

Crowther D, Lancaster G. Research methods. Routledge; 2012.

วาโร เพ็งสวัสดิ์. การวิจัยเชิงทดลองทางการศึกษา. Creat Sci. 2014 Jun 4;6 (11 SE-Research Article): 181-90.

พิชิต ฤทธิ์จรูญ. ระเบียบวิธีการวิจัยทางสังคมศาสตร์. กรุงเทพฯ: เฮ้าส์ ออฟ เดอร์ มีสท์; 2554. p.180-81.

Chasung K. ABC in reseach (Part I) : Overview of research design. Srinagarind Med J. 2003; 18(2): 118.

Fraser MW, Galinsky MJ. Steps in intervention research: Designing and developing social programs. Res Soc Work Pract. 2010; 20(5): 459-66.

ประภัสสร เอื้อลลิตชูวงศ์, บัณฑิต ถิ่นคำรพ. การวิเคราะห์ข้อมูลที่มีรูปแบบการวิจัยเป็นการวัดผลก่อนและหลัง. Data Manag Biostat J. 2551; 4.

Verma JP, Abdel-Salam ASG. Testing statistical assumptions in research. New York: John Wiley & Sons; 2019.

Chirawatkul A. Statistic for health science research. 4th ed. Bangkok: Witthayaphat Co., Ltd; 2558.

Wiboonkul, Lalida Kumsa-ard, Siriporn Sirikarn P. Statistical Methods for Comparing Two Groups Pretest-Posttest Design, Quasi Experimental Study. 2018; p.780-6.

Vickers AJ, Altman DG. Analysing controlled trials with baseline and follow up measurements. BMJ. 2001 Nov 10; 323(7321): 1123 LP-1124.

Ostermann T, Willich SN, Lüdtke R. Regression toward the mean - a detection method for unknown population mean based on Mee and Chua’s algorithm. BMC Med Res Methodol. 2008; 8(1): 52.

CANGÜR Ş, SUNGUR MA, ANKARALI H. The methods used in nonparametric covariance analysis. Duzce Med J. 2018; 20(1): 1-6.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

31-12-2024

How to Cite

สำเร็จดี ห., & สนโศก ส. (2024). สถิติสำหรับเปรียบเทียบผลก่อนและหลังการให้สิ่งแทรกแซงในงานวิจัยเชิงทดลอง. วารสารวิทยาศาสตร์สุขภาพและการสาธารณสุขชุมชน, 7(2), 145–153. สืบค้น จาก https://he01.tci-thaijo.org/index.php/jhscph/article/view/269028