This is an outdated version published on 2022-06-20. Read the most recent version.

บทบาทพยาบาลในการดูแลโภชนาการสำหรับผู้ป่วยวิกฤต

ผู้แต่ง

  • จันทร์ทิรา เจียรณัย สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเททคโนโลยีสุรนารี https://orcid.org/0000-0002-7566-6160
  • ไตรภพ ปิดตานัง โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี
  • นุชพร ดุมใหม่ คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

คำสำคัญ:

บทบาทพยาบาล , โภชนาการ, ผู้ป่วยวิกฤต

บทคัดย่อ

การดูแลด้านโภชนาการในผู้ป่วยวิกฤตเป็นสิ่งที่มีความสำคัญอย่างยิ่ง ผู้ป่วยที่อยู่ในภาวะวิกฤตส่วนมากจะพบว่ามีภาวะทุพโภชนาการ เป็นผลมาจากพยาธิสภาพของโรคที่เป็นอยู่ เป็นสาเหตุให้ผู้ป่วยไม่ได้รับสารอาหารที่เพียงพอต่อความจำเป็นของร่างกาย ซึ่งส่งผลกระทบต่อผู้ป่วย อันได้แก่ ใช้ระยะเวลาในการรักษาที่ยาวนานขึ้น ผู้ป่วยไม่สามารถหย่าเครื่องช่วยหายใจได้ เสี่ยงต่อการติดเชื้อในโรงพยาบาลและมีผู้ป่วยเสียชีวิตเพิ่มขึ้น ดังนั้น การเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการในผู้ป่วยวิกฤตจึงเป็นสิ่งที่มีความจำเป็นอย่างมาก การติดตามภาวะทุพโภชนาการในผู้ป่วยวิกฤตจะช่วยป้องกันและลดภาวะแทรกซ้อนต่าง ๆ ช่วยฟื้นฟูสุขภาพ และช่วยให้ผู้ป่วยฟื้นหายจากภาวะวิกฤตได้เร็วขึ้น บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอพยาธิสรีรภาพของการเจ็บป่วยต่อภาวะทุพโภชนาการและแนวทางการดูแลโภชนาการสำหรับผู้ป่วยวิกฤต ซึ่งเป็นประโยชน์สำหรับพยาบาลในดูแลภาวะโภชนาการของผู้ป่วยวิกฤต และมีสมรรถนะในการเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการของผู้ป่วย  ตลอดจนสามารถให้การดูแลที่มีคุณภาพ เพื่อให้ผู้ป่วยวิกฤตได้รับสารอาหารที่เพียงพอต่อความต้องการของร่างกายและฟื้นหายจากการอาการเจ็บป่วย

Author Biographies

จันทร์ทิรา เจียรณัย, สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเททคโนโลยีสุรนารี

รองศาสตราจารย์

สำนักวิชาพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

ไตรภพ ปิดตานัง, โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

พยาบาลวิชาชีพ

หอผู้ป่วยวิกฤตศัลยกรรม โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

นุชพร ดุมใหม่, คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

นิสิตปริญญาโท

คณะพยาบาลศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา

References

ขวัญหทัย ช้างใหญ่. (2561). แนวปฏิบัติการดูแลทางโภชนาการอย่างต่อเนื่องในผู้ป่วยวิกฤติ. วารสารการพยาบาลและการดูแลสุขภาพ, 36(4), 25-32.

จิตอารี ตันติยาสวัสดิกุล, บัณฑิตา จาดนอก, ศรัญญา ติจะนา และธารินี เพชรรัน์. (2562). การประเมินภาวะโภชนาการผู้ป่วยในแผนกการพยาบาลศัลกรรรมและออร์โธปดิกส์ โรงพยาบาลศรีนครินทร์: หอผู้ป่วย 3ข. ศรีนครินทร์เวชสาร, 34(3), 293-297.

ณัฏฐิกา ถาวงษ์เพีย, วัลย์ลดา ฉันท์เรืองวณิชย์ และอรพรรณ โตสิงห์. (2564). ปัจจัยทำนายภาววะทุพโภชนาการของผู้บาดเจ็บที่ได้รับการผ่าตัด. วารสารสภาการพยาบาล, 36(4). 94-113.

ธารินี เพชรรัตน์, พัสดา ภักดีกำจร, จิตอารีย์ ตันติยาสวัสดิกุล, บัณฑิตา จาดนอก, ศจีมาส แก้วโคตร, ลดาวัลย์ บูรณะปิยะวงศ์, อุราวดี เจริญไชย, ดาราวรรณ อักษรวรรณ และพลากร สุรกุลประภา. (2561). ภาวะโภชนาการของผู้ป่วยแผนกการพยาบาลศัลยกรรมและออร์โธปดิกส์. ศรีนครินทร์เวชสาร, 33(3), 241-246.

นิภาพร จันทราทิพย์. (2562). การพยาบาลเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการของผู้ป่วยผ่าตัดหัวใจ. วารสารวิชาการแพทย์ เขต11, 33(3), 613-628.

ปรียานุช แย้มวงษ์. (2560). อาหารที่ให้ทางสายให้อาหาร (Enteral nutrition formula). ใน ส่งศรี แก้วถนอม, บุชชา พราหมณสุทธิ์, อรวรรณ พิชิตไชยพิทักษ์, สิรกานต์ เตชะวณิช และอุปถัมภ์ ศุภสินธุ์ (บ.ก.), พยาบาลโภชนบำบัด (Nutrition Support Nurse) (หน้า 155-162). สมาคมผู้ให้อาหารทางหลอดเลือดดำและทางเดินอาหารแห่งประเทศไทย.

ปิยะวดี สุมาลัย. (2562). ผลการประเมินภาวะโภชนาการของผู้ป่วย ในสถาบันบำราศนราดูร. วารสารหัวหินสุขใจไกลกังวล, 4(2), 57-67.

ภัทรพล คำสอนทา และสุวลี โล่วิรกรณ์. (2564). ภาวะโภชนาการของผู้ป่วยศัลยกรรม โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยนเรศวร. วารสารวิจัยสาธารณสุขศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 14(4), 49-61.

วรมินทร์ เหรียญสุวรรณ. (2560). Enteral nutrition: Indications contraindications and route access.ใน ส่งศรี แก้วถนอม, บุชชา พราหมณสุทธิ์, อรวรรณ พิชิตไชยพิทักษ์, สิรกานต์ เตชะวณิช และ อุปถัมภ์ ศุภสินธุ์ (บ.ก.), พยาบาลโภชนบำบัด (Nutrition Support Nurse) (หน้า 135-154). สมาคมผู้ให้อาหารทางหลอดเลือดดำและทางเดินอาหารแห่งประเทศไทย.

วรัทยา กุลนิธิชัย. (2562). การพยาบาลเพื่อติดตามและเฝ้าระวังภาวะทุพโภชนาการอย่างต่อเนื่องในผู้ป่วยวิกฤต. วารสารพยาบาลโรคหัวใจและทรวงอก, 30(1), 2-16.

วารณี บุญช่วยเหลือ, ณัฐฐิญา ค้าผล และขวัญชนก เจนวีระนนท์. (2563). ภาวะทุพโภชนาการและผลกระทบในผู้ป่วยที่รักษาในโรงพยาบาล: การทบทวนวรรณกรรมอย่างเป็นระบบ. วารสารเภสัชกรรามไทย, 12(2), 289-304.

วิบูลย์ ตระกูลฮุน และบุชชา พราหมณสุทธิ์. (2563). การประเมิน-คัดกรองภาวะทุพโภชนาการในผู้ป่วย (ผู้ใหญ่) ตามแนวความคิดเห็นใหม่ของสากล จากฟอร์ม BNT 2000 เป็น NT 2013. แพทยสารทหารอากาศ, 66(2), 14-32.

ส่งศรี แก้วถนอม. (2560). บทบาทพยาบาลโภชนบำบัด. ใน ส่งศรี แก้วถนอม, บุชชา พราหมณสุทธิ์, อรวรรณ พิชิตไชยพิทักษ์, สิรกานต์ เตชะวณิช และอุปถัมภ์ ศุภสินธุ์ (บ.ก.), พยาบาลโภชนบำบัด (Nutrition Support Nurse) (หน้า 9-14). สมาคมผู้ให้อาหารทางหลอดเลือดดำและทางเดินอาหารแห่งประเทศไทย.

สมาคมผู้ให้อาหารทางหลอดเลือดดำและทางเดินอาหารแห่งประเทศไทย. (2560). คำแนะนำการดูแลทางโภชนาการในผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่นอนโรงพยาบาล พ.ศ.2560 (Critical Practice Recommendation for the Nutrition management in adult hospital patient 2017). สมาคมผู้ให้อาหารทางหลอดเลือดดำและทางเดินอาหารแห่งประเทศไทย. http://www.spent.or.th/uploads/event/20171219_5a38b6392af47_guidelines%20EN%20final.pdf

สมาคมผู้ให้อาหารทางหลอดเลือดดำและทางเดินอาหารแห่งประเทศไทย. (2562). คำแนะนำการให้อาหารทางหลอดเลือดดำในผู้ป่วยผู้ใหญ่ที่นอนโรงพยาบาล พ.ศ.2562 (Critical Practice Recommendation for the parenteral nutrition management in adult hospitalized patients 2019). สมาคมผู้ให้อาหารทางหลอดเลือดดำและทางเดินอาหารแห่งประเทศไทย. https://www.spent.or.th/uploads/publication/20191110_010137_5dc6ff014a159/20191127_5ddded7c7ee5a_PN%20guidelines_Edit25-11-2019.pdf

สิรกานต์ เตชะวณิช. (2560). ความต้องการพลังงาน สารอาหาร และน้ำในการให้โภชนบำบัด. ใน ส่งศรี แก้วถนอม, บุชชา พราหมณสุทธิ์, อรวรรณ พิชิตไชยพิทักษ์, สิรกานต์ เตชะวณิช และอุปถัมภ์ ศุภสินธุ์ (บ.ก.), พยาบาลโภชนบำบัด (Nutrition Support Nurse) (หน้า 82-89). สมาคมผู้ให้อาหารทางหลอดเลือดดำและทางเดินอาหารแห่งประเทศไทย.

แสงไทย ไตรวงค์, ดลวิวัฒน์ แสนโสม, และนงลักษณ์ เมธากาญจนศักดิ์. (2561). ผลของการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกสำหรับให้อาหารผ่านทางสายอย่างในผู้ป่วยวิกฤตอายุรกรรม โรงพยาบาลมุกดาหาร. วารสารโรงพยาบาลสกลนคร, 21(3), 22-33.

อัจฉรา ธาตุชัย. (2564). บทบาทพยาบาลในการประเมินภาวะโภชนาการในผู้สูงอายุ. วารสารพยาบาลมหาวิทยาลัยสยาม, 22(43). 137-149.

อภิวรรณ อินทรีย์ และ ดลวิวัฒน์ แสนโสม. (2562). ผลของการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกในการให้สารอาหารในผู้ป่วยวิกฤตศัลยกรรมอุบัติเหตุ. วารสารวิทยาลัยพยาบาลบรมราชชนนี นครราชสีมา, 25(2). 118-137.

Blaser, A. R., Starkopf, J., Alhazzani, W., Berger, M. M., Casaer, M. P., Deane, A. M., Fruhwald, S., Hiesmayr, M., Ichai, C., & Jakob, S. M. (2017). Early enteral nutrition in critically ill patients: ESICM clinical practice guidelines. Intensive Care Medicine, 43(3), 380-398.

Elke, G., van Zanten, A. R., Lemieux, M., McCall, M., Jeejeebhoy, K. N., Kott, M., Jiang, X., Day, A. G., & Heyland, D. K. (2016). Enteral versus parenteral nutrition in critically ill patients: an updated systematic review and meta-analysis of randomized controlled trials. Critical Care, 20(1), 1-4.

Friedli, N., Odermatt, J., Reber, E., Schuetz, P., & Stanga, Z. (2020). Refeeding syndrome: update and clinical advice for prevention, diagnosis and treatment. Current Opinion in Gastroenterology, 36(2):136-140. doi: 10.1097/MOG.0000000000000605.

Jéquier, E., & Constant, F. (2010). Water as an essential nutrient: the physiological basis of hydration. European Journal of Clinical Nutrition, 64(2), 115-123.

Milsom, S., Sweeting, J., Sheahan, H., Haemmerle, E., & Windsor, J. (2015). Naso-enteric tube placement: a review of methods to confirm tip location, global applicability and equirements. World Journal of Surgery, 39(9), 2243-2252.

Reber, E., Friedli, N., Vasiloglou, M. F., Schuetz, P., & Stanga, Z. (2019). Management of Refeeding Syndrome in Medical Inpatients. Journal of Clinical Medicine, 8(12), 2202. doi: 10.3390/jcm8122202.

Sauer, A. C., Goates, S., Malone, A., Mogensen, K. M., Gewirtz, G., Sulz, I., Moick, S., Laviano, A., & Hiesmayr, M. (2019). Prevalence of malnutrition risk and the impact of nutrition risk on hospital outcomes: results from nutrition Day in the US. Journal of Parenteral and Enteral Nutrition, 43(7), 918-926.

Schlein, K. M., & Coulter, S. P. (2014). Best practices for determining resting energy expenditure in critically ill adults. Nutrition in Clinical Practice, 29(1), 44-55.

Singer, P., Blaser, A. R., Berger, M. M., Alhazzani, W., Calder, P. C., Casaer, M. P., Hiesmayr, M., Mayer, K., Montejo, J. C., & Pichard, C. (2019). ESPEN guideline on clinical nutrition in the intensive care unit. Clinical Nutrition, 38(1), 48-79. https://doi.org/10.1016/j.clnu.2018.08.037

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-06-20

Versions