การส่งเสริมคุณภาพชีวิต: กรณีศึกษาผู้ป่วยอัมพาตใบหน้า

ผู้แต่ง

  • ศรีสุนทรา เจิมวรพิพัฒน์
  • จินตนา รังษา

คำสำคัญ:

โรคอัมพาตใบหน้า, คุณภาพชีวิต, บทบาทพยาบาล

บทคัดย่อ

บทความวิชาการนี้จัดทำขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อศึกษาการส่งเสริมคุณภาพชีวิตผู้ป่วยอัมพาตใบหน้า  ผลกระทบของเกิดอัมพาตใบหน้าต่อคุณภาพชีวิตของผู้ป่วย ทั้งด้านร่างกาย จิตใจ ความสัมพันธ์ทางสังคม และ สภาพแวดล้อม ผลกระทบที่สำคัญ คือ มีความผิดปกติของกล้ามเนื้อใบหน้า ปากเบี้ยว ส่งผลให้เกิดความผิดปกติของการพูด การสื่อสาร การเคี้ยว การกลืน ทำให้ผู้ป่วยเกิดความวิตกกังวล ขาดความมั่นใจในการสื่อสารกับผู้อื่น ปฏิสัมพันธ์กับผู้อื่นลดลง จนถึงซึมเศร้า แยกตัวจากสังคม ในบทความนี้จะนำเสนอเกี่ยวกับ ความรู้พื้นฐานของโรคอัมพาตใบหน้า สาเหตุ ปัจจัยเสี่ยง พยาธิสภาพ อาการและอาการแสดง การวินิจฉัยโรค การรักษา และ ภาวะแทรกซ้อน การประเมินคุณภาพชีวิตผู้ป่วยอัมพาตใบหน้า และแนวทางในการส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยอัมพาตใบหน้า พร้อมทั้งนำเสนอกรณีตัวอย่าง สำหรับเป็นแนวทางให้พยาบาลใช้สำหรับการให้คำแนะนำและการกระตุ้นให้ผู้ป่วยปฏิบัติตามแนวทางการฟื้นฟูตนเองเพื่อกำจัดภาวะแทรกซ้อนที่เกิดขึ้นและส่งเสริมคุณภาพชีวิตของผู้ป่วยอัมพาตใบหน้า

Downloads

Download data is not yet available.

References

1. Somasundara D, Sullivan F. Management of bell’s palsy. Journal of Australian prescribe 2017;40:94-7.

2. Sathirapanya, P. Bell’s palsy: the current concepts of pathophysiology, management and prognosis. Songklanagarind medical journal 2002;20(3):221-32. (in Thai).

3. Nellis J, Byrne P, Boahene K, Dey J, Ishii E. Association among facial paralysis, depression and quality of life in facial plastic surgery. Journal of JAMA facial plastic surgery 2017;19(3):190-96.

4. Baugh F, Gregory J, Basura IE, Schwartz R., Drumheller M, Burkholder R., et al. Clinical practice guideline: bell’s palsy. Journal of Otolaryngology- Head and Neck Surgery 2013;149(3S):S1-S27.

5. Stew B, Williams H. Modern management of facial palsy: a review of current Literature. British Journal of General Practice 2013;63(607):109-10.

6. Chaovisitsaree S, Brahmnark M, Thewin B, Matanasarawoot A, Gomutbup P. Acupuncture treatment for bell’s palsy: A case report. Nursing journal 2013;40(4):186-91. (in Thai).

7. Petpichetchian W. Best nursing practice in cancer care. Songkhla: Chanmueang; 2010. (in Thai).

8. Tavares-Brito J, Veen M, Dusseldrop JR, Bahmad JrF, Hardlock TA. Facial palsy-specific quality of life in 920 patients: correlation with clinician-graded severity and predicting factors. Laryngoscope 2019;129:100-4.

9. Duan X, Sun Y, An X, Feng Q, Pan D. Application effect of synergy theory-centered rehabilitation nursing on nursing of patients with peripheral facial paralysis. Journal of Biomedical Research 2017;12(45):5300-03.

10. Santos M, Chiari B, Guedes G. Facial paralysis of life: a critical review of literature in the scope and quality of inter-professional work Rev. Revista Cefac 2016;18(5):1230-37.

11. Carvalho VF, Vieira APS, Paggiaro AO, Salles AG, Gemperli R. Evaluation of the body image of patients with facial palsy before and after the application of botulinum toxin. Internal Journal Dermatology 2019;58(10):1175-83.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-12-02