การจัดทำแนวปฏิบัติเพื่อป้องกัน และการดูแลแผลกดทับในสถาบันบำราศนราดูร
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยและพัฒนา (Research and Development) โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาแนวปฏิบัติเพื่อป้องกัน และการดูแลแผลกดทับในสถาบันบำราศนราดูร โดยจัดตั้งคณะทำงานเพื่อพัฒนาแนวการปฏิบัติเพื่อป้องกันการเกิดแผลกดทับ และศึกษาผลการเปรียบเทียบระหว่างก่อนการใช้แนวปฏิบัติ ในสถาบันฯบำราศนราดูร และทำการเก็บข้อมูลการเกิดแผลกดทับโดยการสำรวจข้อมูลก่อนการดำเนินการตามแนวปฏิบัติเป็นระยะเวลา 12 เดือน (ปี 2554) และหลังการใช้แนวปฏิบัติ 12 เดือน (ปี 2555) โดยสำรวจผู้ป่วยที่นอนโรงพยาบาลในช่วงระยะเวลาดังกล่าวจำนวน 13 รายในปี 2554 และ 8 รายในปี 2555 แล้ววิเคราะห์ด้วยสถิติพรรณนา ผลการวิจัยแนวทางปฏิบัติ พบว่าผู้ปฏิบัติสามารถปฏิบัติตามแนวปฏิบัติได้และพบว่าอัตราการเกิดแผลกดทับใหม่เฉลี่ยปี 2554 เท่ากับ 6.5 ครั้งต่อ 1,000 วัน นอนลดลงเป็น 5.9 ครั้งต่อ 1,000 วัน นอนในผู้ป่วยกลุ่มเสี่ยงในปี พ.ศ.2555 อัตราความชุกของแผลกดทับลดลงจากเฉลี่ยปี 2554 เท่ากับร้อยละ 12.34 เหลือเฉลี่ยปี 2555 ร้อยละ 8.6 การพัฒนาแนวปฏิบัติพบว่า บุคลากรทางการพยาบาลมีการแลกเปลี่ยนความรู้ในเรื่องการดูแลป้องกันแผลกดทับ และการจัดทำแนวปฏิบัตินี้เป็นการรวบรวมความรู้ด้านการดูแลแผลกดทับที่กระจัดกระจายอยู่ในที่ต่างๆมารวบรวมไว้ในที่เดียวกัน
Article Details
References
2. ยุวดี เกตุสัมพันธ์, สุรีรัตน์ ช่วงสวัสดิ์ศักดิ์. ความชุกของแผลกดทับ. ใน: ยุวดี เกตสัมพันธ์, อัญชนา ท้วมเพิ่มผล, นภาพร อภิรดีวจีเศรษฐ์, จุฬาพร ประสังสิต, บรรณาธิการ. การดูแลแผลกดทับ: ศาสตร์และศิลปะทางการ พยาบาล. กรุงเทพฯ: ไทยเอฟเฟคท์ สตูดิโอ; 2554. หน้า 141-50.
3. อภิชนา โฆวินทะ, กัลยาณี ยาวิละ. สภาพและปัญหาของผู้ป่วยบาดเจ็บไขสันหลังภายหลังถูกจำหน่ายออกจากโรงพยาบาลเชียงใหม่. เวชสาร 2541; 37: 49-57.
4. วิจิตร ศรีสุพรรณ, จิตตาภรณ์ จิตรีเชื้อ, วิลาวัณย์ พิเชียรเสถียร, สมหวัง ด่านชัยวิจิตร, ประทิน ชัยศรี, วิลาวัณย์ เสนารัตน์. การเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยโรงพยาบาลมหาวิทยาลัย. พยาบาสาร 2545; 29(2): 1-12.
5. National Pressure Ulcer Advisoer Panel. Presure ulcer prevention points. [Internet]. 2006 [cited 2011 march 4]; Avaiable from://www.npuap.org/NP-UAPPressureUlcerPoints122805.pdf
6. ชวลี แย้มวงษ์, จันทิพย์ วงศ์วิวัฒน์, ปานจิตร โชดพิชิจ, ศุกลดี ช้อยชาญชัยกุล, ประคอง อินทรสมบัติ, สุภาณี กาญจนจารี และคณะ. การลดอุบัติการณ์การเกิดแผลกดทับ. รูปแบบการดูแลโดยการวิจัยเชิงปฏิบัติการ. วารสารการพยาบาล 2548; 20(1): 33-48.
7. นลินทิพย์ ตำนานทอง, วีระชัย โควสุวรรณ. ค่าใช้จ่ายในการรักษาแผลกดทับ. ศรีนคริทร์เวชสาร 2540; 12(2): 74-82.
8. Bennett G, Moody M. Wound care for Health Professionals. London: Chapman & Hall; 1995.
9. อารี บูรณกูล. ปัจจัยเสี่ยงต่อการเกิดแผลกดทับในผู้ป่วยโรคทางระบบประสาทที่เข้ารับการรักษาในโรงพยาบาล [วิทยานิพนธ์พยาบาลศาสตร์บัณฑิต]. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล; 2545.
10. พรทิพย์ มาลาธรรม, ชวลี แย้มวงษ์, สุภาณี กาญจนจารี, จันทร์ทิพย์ วงศ์วิวัฒน์. แนวปฏิบัติการคลินิก เรื่องการป้องกันการเกิดแผลกดทับ. นนทบุรี: จุดทอง; 2550.
11. ประเสริฐ อัสสันตชัย. แผลกดทับในผู้สูงอายุ. คลินิกเวชปฏิบัติปริทัศน์ 2546: 398-405.
12. Weinberg JK. Balancing autonomy and resources in healthcare for elders. Generations 1998. 22(3): 92.
13. จิตร สิทธิอมร, อนุวัฒน์ ศุภชุติกุล, สงวนสิน รัตนเลิศ, เกียรติศักดิ์ ราชบริรักษ์. Clinical Practice Guide lines:การจัดทำและนำไปใช้. สถาบันพัฒนาและรับรองคุณภาพโรงพยาบาล. กรุงเทพฯ; 2543.
14. อารี ชีวเกษมสุข, ธนิดา เธียรธำรุงสุข. การเปรียบเทียบประสิทธิผลการบันทึกตามกระบวนการพยาบาลของนักศึกษาพยาบาลโดยใช้รูปแบบการบันทึกที่มีโครงสร้างกับรูปแบบเชิงบรรยาย. วารสารพยาบาลศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2548; 2(3): 56-64.
15. มยุรี โรจนอังกูร. ประสิทธิผลของการใช้แนวปฏิบัติทางคลินิกสำหรับป้องกันแผลกดทับในผู้ป่วยศัลยกรรมประสาทโรงพยาบาลอุตรดิตถ์. [วิทยานิพนธ์พยาบาลมหาบัณฑิต].เชียงใหม่: มหาวิทยาลัยเชียงใหม่; 2547.
16. สุพรรณี เตรียมวิศิษฏ์, นฤมล เลิศคอนสาร, วาสนา วงศ์ประเสริฐ, ปภาพร ใบยา, พรรณี ปิยะวงค์, สมพร คำดีฟั้น. แนวปฏิบัติทางคลินิกสำหรับป้องกันการหกล้มและตกเตียงในผุ้ป่วยศัลยกรรมประสาทหอผู้ป่วยศัลยกรรมชาย 3 โรงพยาบาลมหาราชนครเชียงใหม่. วารสารพยาบาลสวนดอก 2549; 12(2).
17. Ray A, NHMRC Clinical Trials Centre. Advancing research. Aust Fam Physician 1999; 28(3): 205.
18. Thomas DR. Existing tools: are they meeting the challenges of pressure ulcer healing?. Adv Wound Care 1997; 10(5): 86-90.
19. Gagan M, J. Hewitt-Taylor, The issues for nurses involved in implementing evidence in practice. Br J Nurs 2004; 13(20): 1216-20.
20. Ring N, et al. Nursing best practice statements: an exploration of their implementation in clinical practice. J Clin Nurs 2005; 14(9): 1048-58.
21. รุ้งรวี นาวีเจริญ. การนำผลการวิจัยมาใช้ในการปฏิบัติการพยาบาล วิทยาสารพยาบาล 2544; 26(3): 121-9.