การส่งบทความ
เข้าสู่ระบบ หรือ ลงทะเบียน เพื่อส่งบทความ
รายการตรวจสอบก่อนส่งบทความ
ในขั้นตอนการส่งบทความ ผู้แต่งต้องตรวจสอบและปฏิบัติตามข้อกำหนดรายการตรวจสอบการส่งทุกข้อ ดังต่อไปนี้ และบทความอาจถูกส่งคืนให้กับผู้แต่งกรณีที่ไม่ปฏิบัติตามข้อกำหนดทั้งหมด
- The submission has not been previously published, nor is it before another journal for consideration (or an explanation has been provided in Comments to the Editor).
- The submission file is in OpenOffice, Microsoft Word, or RTF document file format.
- Where available, URLs for the references have been provided.
- The text is single-spaced; uses a 12-point font; employs italics, rather than underlining (except with URL addresses); and all illustrations, figures, and tables are placed within the text at the appropriate points, rather than at the end.
- The text adheres to the stylistic and bibliographic requirements outlined in the Author Guidelines.
คำแนะนำผู้แต่ง
DOWNLOAD
1. การเตรียมต้นฉบับ
1.1 บทความวิจัย (Original Article)
รูปแบบและขนาดตัวอักษร ใช้รูปแบบอักษร TH SarabunPSK 16 ระยะห่าง 1 บรรทัด ภาษาอังกฤษใช้ระยะห่าง
1.5 บรรทัด ส่วนชื่อเรื่องและหัวข้อเรื่องพิมพ์ตัวหนา และเพิ่มขนาดตามความเหมาะสม
พิมพ์บนกระดาษขนาด A4 พิมพ์ห่างจากขอบกระดาษ 1 นิ้วทั้ง 4 ด้าน พิมพ์หน้าเดียวเป็นภาษาไทย หรือ
ภาษาอังกฤษ
ความยาวไม่เกิน 12 หน้า ประกอบด้วย บทคัดย่อภาษาไทยและภาษาอังกฤษ บทนำ วิธีการศึกษา ผลการศึกษา
อภิปรายผล เอกสารอ้างอิง ตามลำดับ (ถ้ามีภาพประกอบให้เขียนชื่อใต้รูปกำกับด้วย) รายละเอียดดังนี้
ชื่อเรื่อง
ควรสั้นกะทัดรัด ให้ได้ใจความที่ ครอบคลุมและตรงกับวัตถุประสงค์และเนื้อเรื่อง ชื่อเรื่องต้องมี
ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
ชื่อผู้นิพนธ์
ให้มีทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ (ไม่ใช้คำย่อ) ตัวย่อวุฒิการศึกษา และหน่วยงาน/สถานที่
ทำงาน ทั้งภาษาไทยและภาษาอังกฤษ
เนื้อเรื่อง
ควรใช้ภาษาไทยให้มากที่สุด และภาษาที่เข้าใจง่าย สั้น กะทัดรัดและชัดเจน เพื่อประหยัดเวลา
ของผู้อ่าน หากใช้คำย่อต้องเขียนคำเต็มไว้ครั้งแรกก่อน
บทคัดย่อ
คือการย่อเนื้อหาสำคัญ เอาเฉพาะที่จำเป็นเท่านั้น ระบุตัวเลขทางสถิติที่สำคัญ ใช้ภาษารัดกุมเป็น
ประโยคสมบูรณ์ และเป็นร้อยแก้วและมีส่วนประกอบคือ วัตถุประสงค์ วิธีการศึกษา ผลการศึกษา และ
วิจารณ์หรือข้อเสนอแนะ (อย่างย่อ) ไม่ต้องมีเชิงอรรถอ้างอิง รวมทั้งคำสำคัญ บทคัดย่อต้องเขียนทั้ง
ภาษาไทยและภาษาอังกฤษอย่างละไม่เกิน 350 คำ
วิธีการศึกษา
อธิบายวิธีการดำเนินการวิจัย กล่าวถึงแหล่งที่มาของข้อมูล วิธีการรวบรวมข้อมูล วิธีการเลือกสุ่มตัวอย่าง
และการใช้เครื่องมือช่วยในการวิจัย ตลอดจนวิธีการวิเคราะห์ข้อมูลหรือใช้หลักสถิติมาประยุกต์
ผลการศึกษา
อธิบายสิ่งที่ได้จากการวิจัย โดยเสนอหลักฐาน และข้อมูลอย่างเป็นระเบียบพร้อมทั้งแปลความหมายของ
ผลที่ค้นพบหรือวิเคราะห์ ตาราง(ถ้ามี)ให้ใส่ชื่อตารางเหนือตาราง หรือคำอธิบายเพิ่มเติมใต้ตาราง แผนภูมิ/
รูปภาพ(ถ้ามี)ให้ใส่ชื่อใต้แผนภูมิ/รูปภาพ
อภิปรายผล
ควรเขียนอภิปรายผลการวิจัยว่าเป็นไปตามวัตถุประสงค์ที่ตั้งไว้หรือไม่เพียงใด และควรอ้างอิงถึงทฤษฎี
หรือผลการดำเนินงานของผู้ที่เกี่ยวข้องประกอบด้วย
สรุป (ถ้ามี)
ควรเขียนสรุปเกี่ยวกับการวิจัย (สรุปให้ตรงประเด็น) และข้อเสนอแนะที่อาจนำผลการวิจัยไปใช้ประโยชน์
หรือให้ข้อเสนอแนะประเด็นปัญหาที่สามารถปฏิบัติได้สำหรับการวิจัยครั้งต่อไป
เอกสารอ้างอิง
1) ผู้นิพนธ์ต้องรับผิดชอบความถูกต้องของเอกสารอ้างอิงทุกเรื่องจากตัวจริงหรือสำเนาตัวจริง
2) เขียนระบบ Vancouver โดยใช้ตัวเลขพิมพ์ยก เรียงลำดับตามการอ้างในเรื่อง โดยใช้หมายเลข 1
สำหรับเอกสารอ้างอิงอันดับแรก และเรียงต่อตามลำดับ แต่ถ้าต้องการอ้างอิงซ้ำให้ใช้หมายเลขเดิม
3) หากเป็นเรื่องที่มีผู้นิพนธ์มากกว่า 6 คนขึ้นไป ให้ใส่เฉพาะ 6 ชื่อแรกและตามด้วย “และคณะ”
4) เอกสารอ้างอิงหากเป็นวารสารภาษา อังกฤษให้ใช้ชื่อย่อวารสารตามหนังสือ Index Medicus
และต้องเขียนเอกสารอ้างอิงไทยทั้งหมดเป็นรูปแบบภาษาอังกฤษ และมี (in Thai) ต่อท้ายบทความ
การใช้เอกสารอ้างอิง ไม่ถูกแบบจะทำให้เรื่องที่ส่งมาเกิดความล่าช้าในการพิมพ์ เพราะต้องมีการ
ติดต่อผู้เขียนเพื่อขอข้อมูลเพิ่มเติมครบตามหลักเกณฑ์
1.2 รายงานผู้ป่วย (Case Report)
เหมือนกับ 1.1 บทความวิจัย (Original Article)
1.3 บทความวิชาการ (Academic Article)
ควรเป็นบทความที่ให้ความรู้ใหม่ รวบรวมสิ่งที่ตรวจพบใหม่ หรือเรื่องที่น่าสนใจที่ผู้อ่านนำไปประยุกต์ได้
หรือเป็นบทความวิเคราะห์สถานการณ์โรคต่างๆ หรือการรายงานประวัติศาสตร์โรคและภัยสุขภาพ
ความสำเร็จของการดำเนินงานในอดีต
รูปแบบ ขนาดตัวอักษร ลักษณะการพิมพ์และเอกสารอ้างอิงใช้แบบเดียวกับบทความวิจัย/รายงานผู้ป่วย
ความยาวไม่เกิน 12 หน้า ประกอบด้วย บทคัดย่อภาษาไทยและภาษาอังกฤษ และ เอกสารอ้างอิง ตามลำดับ
(ถ้ามีภาพประกอบให้เขียนชื่อใต้รูปกำกับด้วย) รายละเอียดใช้แบบเดียวกับบทความวิจัย/รายงานผู้ป่วย
2. การส่งต้นฉบับ
2.1 ส่ง Electronics File
บทความ/ผลงานวิชาการ พร้อมระบุชื่อ File และระบบที่ใช้ MSWord ที่ E-mail: bidijournal@gmail.com
2.2 พร้อมแนบแบบนำเสนอบทความเพื่อพิจารณาตีพิมพ์ฯ
สามารถดาวน์โหลดได้ที่ bamras.ddc.moph.go.th/ ส่งมาที่งานวารสารสถาบันบำราศนราดูร หรือที่
E-mail: bidijournal@gmail.com
3.การรับเรื่องต้นฉบับ และการเผยแพร่
3.1 เรื่องที่รับไว้
กองบรรณาธิการจะแจ้งตอบรับให้ผู้เขียนทราบ และส่งให้ reviewer 2 ท่าน ร่วมพิจารณา
3.2 เรื่องที่ไม่ได้รับพิจารณาเผยแพร่
กองบรรณาธิการจะแจ้งให้ทราบ แต่จะไม่ส่งต้นฉบับคืน
3.3 เรื่องที่พิจารณาจะลงเผยแพร่แทนการตีพิมพ์
สามารถดาวน์โหลดต้นฉบับจากเวปไซต์ของสถาบันฯ ทั้งนี้ของดการตีพิมพ์เป็นรูปเล่มวารสาร
ตั้งแต่ปีที่ 12 (พศ. 2561) เป็นต้นไป
4. ตัวอย่างการเขียนเอกสารอ้างอิง (โปรดสังเกตเครื่องหมายวรรคตอนในทุกตัวอย่าง)
4.1 การอ้างเอกสาร
ลำดับที่. ชื่อผู้แต่ง (สกุล อักษรย่อของชื่อ). ชื่อเรื่อง. ชื่อย่อวารสาร ปีที่พิมพ์;เล่มที่ของวารสาร(volume):
หน้าแรก-หน้าสุดท้าย ในกรณีที่ผู้แต่งเกิน 6 คน ให้ใส่ชื่อผู้แต่ง 6 คนแรกแล้วตามด้วย et al.
ตัวอย่างภาษาไทยปรับให้เป็นภาษาอังกฤษ
1. ภคนันท์ สาดสี. ความชุกของเชื้อ Carbapenem Resistant Enterobacteriaceae ในโรงพยาบาล
1. ภคนันท์ สาดสี. ความชุกของเชื้อ Carbapenem Resistant Enterobacteriaceae ในโรงพยาบาล
สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราช จังหวัดตาก. วารสารสถาบันบำราศนราดูร 2562; 13(2): 78-86.
ปรับเป็น
1. Sadsee P. The Prevalence of Carbapenem Resistant Enterobacteriaceae at
ปรับเป็น
1. Sadsee P. The Prevalence of Carbapenem Resistant Enterobacteriaceae at
Somdejphrachoataksinmaharaj Hospital, Tak. bamras j 2019; 13(2): 78-86. (in Thai)
4.2 การอ้างอิงหนังสือหรือตำรา
แบ่งเป็น 2 ลักษณะ
ก. การอ้างอิงทั้งหมด
ลำดับที่. ชื่อผู้แต่ง (สกุล อักษรย่อของชื่อ). ชื่อหนังสือ. ครั้งที่พิมพ์ (edition). เมืองที่พิมพ์: สำนักที่พิมพ์; ปีที่พิมพ์.
ตัวอย่าง
1. Toman K. Tuberculosis case-finding and chemo therapy. 2nd ed. Geneva: World Health
Organization; 1979.
ข. การอ้างอิงบทหนังสือที่มีผู้เขียนเฉพาะบทและบรรณาธิการของหนังสือ
ลำดับที่. ชื่อผู้เขียน. ชื่อบท. ใน; (ชื่อบรรณาธิการ), บรรณาธิการ. ชื่อหนังสือ. ครั้งที่พิมพ์. เมืองที่พิมพ์: สำนักพิมพ์;
ปีที่พิมพ์. หน้าแรก-หน้าสุดท้าย.
ตัวอย่างภาษาไทยปรับให้เป็นภาษาอังกฤษ
1. ศรชัย หลูอารีย์สุวรรณ. การดื้อยาของเชื้อมาลาเรีย. ใน: ศรชัย หลูอารีย์สุวรรณ, ดนัย บุนนาค,ตระหนักจิต
1. ศรชัย หลูอารีย์สุวรรณ. การดื้อยาของเชื้อมาลาเรีย. ใน: ศรชัย หลูอารีย์สุวรรณ, ดนัย บุนนาค,ตระหนักจิต
หะริณสุต, บรรณาธิการ. ตำราอายุรศาสตร์เขตร้อน. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: รวมทรรศน์; 2533. หน้า 115-20.
ปรับเป็น
1. Luarisuwan S. Resistance of malaria. In: Luarisuwan S, Bunnag D, Harinasut T, editors.
ปรับเป็น
1. Luarisuwan S. Resistance of malaria. In: Luarisuwan S, Bunnag D, Harinasut T, editors.
Tropical Medicine Book. 2nd ed. Bangkok: ruamtas; 1990. p. 115-20. (in Thai)
4.3 เอกสารอ้างอิงที่เป็นหนังสือประกอบการประชุมหรือรายงานการประชุม
ลำดับที่อ้างอิง. ชื่อบรรณาธิการ, บรรณาธิการ. ชื่อเรื่อง. ชื่อการประชุม; วัน เดือน ปี ที่ประชุม; สถานที่จัดประชุม.
เมืองที่พิมพ์: สำนักพิมพ์; ปีพิมพ์.
ตัวอย่าง
1. Kimura J, Shibasaki H, editors. Recent advances in clinical neurophysiology.Proceedings of
the 10th International Congress of EMG and Clinical Neurophysiology; 1995 Oct 15-19; Kyoto,
Japan. Amsterdam: Elsevier; 1996.
4.4 การอ้างอิงบทความที่นำเสนอในการประชุมหรือสรุปผลการประชุม
ลำดับที่อ้างอิง. ชื่อผู้เขียน. ชื่อเรื่อง. ใน/In: ชื่อบรรณาธิการ, บรรณาธิการ/editor. ชื่อการประชุม;วัน เดือนปี
ที่ประชุม; สถานที่จัดประชุม, เมืองที่ประชุม. เมืองที่พิมพ์: ปีที่พิมพ์. หน้า/p. หน้าแรก-หน้าสุดท้าย.
ตัวอย่าง
1. Bengtsson S, Solheim BG. Enforcement of data protection, privacy and security inmedical
informatics. In: Lun KC, Degoulet P, Piemme TE, Rienhoff O, editors.MEDINFO 92. Proceedings
of the 7th World Congress on Medical Informatics; 1992Sep 6-10; Geneva, Switzerland.
Amsterdam: North-Holland; 1992. p. 1561-5.
4.5 เอกสารอ้างอิงที่เป็นวิทยานิพนธ์
ลำดับที่อ้างอิง. ชื่อผู้นิพนธ์. เรื่อง [ประเภท/ระดับปริญญา]. เมืองที่พิมพ์: มหาวิทยาลัย; ปีที่ได้รับปริญญา.
ตัวอย่างภาษาไทยปรับให้เป็นภาษาอังกฤษ
1. เอื้อมเดือน ไชยหาญ. ลักษณะเครือข่ายชุมชนเพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน
1. เอื้อมเดือน ไชยหาญ. ลักษณะเครือข่ายชุมชนเพื่อการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในชุมชน
[วิทยานิพนธ์ปริญญาสังคมสงเคราะห์ศาสตรมหาบัณฑิต]. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์; 2542.
ปรับเป็น
ปรับเป็น
1. Chaiharn A. Characteristics of community networks for drug prevention and resolution in the
community [Master of Social Work Degree Thesis]. Bangkok: Thammasat University; 1999.
(in Thai)
4.6 การอ้างอิงเอกสารอิเล็กทรอนิกส์
ก. วารสารอิเล็กทรอนิกส์
ลำดับที่อ้างอิง. ชื่อผู้แต่ง. ชื่อบทความ. ชื่อวารสาร [ประเภทของสื่อ]. ปีที่พิมพ์ [เข้าถึงเมื่อ/citedปี เดือน วันที่];
ก. วารสารอิเล็กทรอนิกส์
ลำดับที่อ้างอิง. ชื่อผู้แต่ง. ชื่อบทความ. ชื่อวารสาร [ประเภทของสื่อ]. ปีที่พิมพ์ [เข้าถึงเมื่อ/citedปี เดือน วันที่];
เล่มที่ (volume): หน้าแรก-หน้าสุดท้าย. เข้าถึงได้จาก/Available from: https://..................
ตัวอย่าง
1. Alavi-Naini R, Moghtaderi A, Metanat M, Mohammadi M, Zabetian M. Factors associated with
ตัวอย่าง
1. Alavi-Naini R, Moghtaderi A, Metanat M, Mohammadi M, Zabetian M. Factors associated with
mortality in Tubeculosis patients. J Res Med Sci [internet]. 2013 [cited 2013 Nov 5]; 18: 52-5.
Available from: https://www.ncbi.nlm.nih.gov/pmc/articles/PMC3719227/
ข. หนังสือหรือบทความอิเล็กทรอนิกส์
ลำดับที่อ้างอิง. ชื่อผู้แต่ง. ชื่อเรื่อง [ประเภทของสื่อ]. เมืองที่พิมพ์: สำนักพิมพ์; ปีที่พิมพ์
ข. หนังสือหรือบทความอิเล็กทรอนิกส์
ลำดับที่อ้างอิง. ชื่อผู้แต่ง. ชื่อเรื่อง [ประเภทของสื่อ]. เมืองที่พิมพ์: สำนักพิมพ์; ปีที่พิมพ์
[เข้าถึงเมื่อ/cited ปี เดือน วันที่]. จำนวนหน้า. เข้าถึงได้จาก/Available from: https://..................
ตัวอย่าง
1. Merlis M, Gould D, Mahato B. Rising out of pocket spending for medical care: agrowing strain
ตัวอย่าง
1. Merlis M, Gould D, Mahato B. Rising out of pocket spending for medical care: agrowing strain
on family budgets [Internet]. New York: Commonwealth Fund; 2006 Feb [cited 2006 Oct 2].
23 p. Available from: https://www.cmwf.org/usr_doc/Merlis_risingoopspending_887.pdf
ค. หนังสือหรือบทความอิเล็กทรอนิกส์ที่ไม่มีเมืองที่พิมพ์ และสำนักพิมพ์
ลำดับที่อ้างอิง. ชื่อผู้แต่ง. ชื่อเรื่อง [ประเภทของสื่อ]. ปีที่พิมพ์ [เข้าถึงเมื่อ/cited ปี เดือน วันที่]. จำนวนหน้า.
ค. หนังสือหรือบทความอิเล็กทรอนิกส์ที่ไม่มีเมืองที่พิมพ์ และสำนักพิมพ์
ลำดับที่อ้างอิง. ชื่อผู้แต่ง. ชื่อเรื่อง [ประเภทของสื่อ]. ปีที่พิมพ์ [เข้าถึงเมื่อ/cited ปี เดือน วันที่]. จำนวนหน้า.
เข้าถึงได้จาก/Available from: https://..................
ตัวอย่างภาษาไทยปรับให้เป็นภาษาอังกฤษ
1. ศูนย์เฝ้าระวังเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพแห่งชาติ. Antibiograms [อินเทอร์เน็ต]. 2562 [เข้าถึงเมื่อ 10 พ.ค. 2562].
ตัวอย่างภาษาไทยปรับให้เป็นภาษาอังกฤษ
1. ศูนย์เฝ้าระวังเชื้อดื้อยาต้านจุลชีพแห่งชาติ. Antibiograms [อินเทอร์เน็ต]. 2562 [เข้าถึงเมื่อ 10 พ.ค. 2562].
เข้าถึงได้จาก: https://narst.dmsc.moph.go.th/news001.html
ปรับเป็น
1. National Antimicrobial Resistance Surveillance Thailand. Antibiograms [internet]. 2019
ปรับเป็น
1. National Antimicrobial Resistance Surveillance Thailand. Antibiograms [internet]. 2019
[cited 2019 may 10]. Available from: https://narst.dmsc.moph.go.th/news001.html. (in Thai)