การประยุกต์ทฤษฎีความสามารถตนเองร่วมกับการสนับสนุนทางสังคมต่อการป้องกันอาการปวดหลังส่วนล่างของผู้ประกอบอาชีพทำอิฐมอญ
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการประยุกต์ทฤษฎีความสามารถตนเอง ร่วมกับการสนับสนุนทางสังคมต่อการป้องกันอาการปวดหลังส่วนล่างของผู้ประกอบอาชีพทำอิฐมอญ แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 34 คน ได้รับโปรแกรมการประยุกต์ทฤษฎีความสามารถตนเองร่วมกับการสนับสนุนทางสังคม และกลุ่มเปรียบเทียบ 35 คน ได้รับคู่มือการป้องกันอาการปวดหลังส่วนล่างของผู้ประกอบอาชีพทำอิฐมอญ เก็บรวบรวมข้อมูลก่อนการทดลองและหลังการทดลอง 1 เดือน ใช้ระยะเวลาทั้งสิ้น 8 สัปดาห์ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน Chi-square, Paired t-test และ Independent t-test
ภายหลังการทดลองพบว่า กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้ความสามารถตนเองความคาดหวังในผลดีของการป้องกันพฤติกรรมการป้องกันอาการปวดหลังส่วนล่างโดยเฉพาะด้านท่าทางการทำงาน และด้านการบริหารร่างกายมากกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.001) และมีค่าเฉลี่ยของการเปลี่ยนแปลงการรับรู้ความสามารถตนเอง ความคาดหวังในผลดีของการป้องกัน พฤติกรรมการป้องกันอาการปวดหลังส่วนล่าง โดยเฉพาะด้านท่าทางการทำงานและด้านการบริหารร่างกายมากกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.05)
Article Details
References
2. สสิธร เทพตระการพร. โรคปวดหลังจากการทำงาน. วารสารสุขภาพและสิ่งแวดล้อมกรมอนามัยกระทรวงสาธารณสุข 2542; 4(3): 1-4.
3. Hess JA, Hecker S, Weinstein M, Lunger M. An ErgonomicsIntervention with Construction Concrete Laborers to Decrease Low Back PainInjury Risk [Internet]. 2004 [cited 2009 June 27]; Available from: http:// www.asbweb.org/onfereness/2004/pdf/r4.pdf.
4. สถาบันความปลอดภัยในการทำงาน, กรมสวัสดิการ, คุ้มครองแรงงานกระทรวงแรงงาน. แนวทางการปรับปรุงสภาพการทำงานที่ผู้ปฏิบัติงานมีอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อเนื่องจากการทำงาน. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: เรียงสามกราฟฟิคดีไซน์. 2551.
5. ไพฑูรย์ งามมุข. การประเมินความเสี่ยงเชิงปริมาณของภาระกล้ามเนื้อหลังในพนักงานยกเพลตแบตเตอรี่ภายหลังการปรับปรุงสถานีงาน[วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต]. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล; 2540.
6. วัฒนชัย โรจน์วณิชย์. โรคทางออร์โธปิดิกส์ที่เกี่ยวกับการทำงาน. ใน: สนธยา พรึงลำภู, สมชัย บวรกิตติ, บรรณาธิการ. ความสมบูรณ์พร้อมสำหรับการทำงาน. พิมพ์ครั้งที่ 1. กรุงเทพฯ: กรุงเทพเวชสาร; 2550. หน้า 99 -106.
7. Myers HA, et al. Back Injury in Municipal Workers: A CaseControl Study. Am J Public Health 1999; 89(7): 1036-41.
8. Nguyen TH, Randolph DC. Nonspecific Low Back Pain and Return to Work. Am Fa Physician 2007; 76(10): 1497-502.
9. Turner AJ, et al. Prediction of chronic disability in work related musculoskeletal disorders: a prospective, populationbased study [Internet]. 2004 [cited 2008 March 14]; Available from: http://www.biomedcentral.com.
10. ชะฎายุทธ์ ปัทเมฆ, ณรงค์ เนตรสาริกา. รายงานวิจัยการสำรวจสมรรถภาพกล้ามเนื้อคนงานโรงงานทำอิฐหรือกระเบื้องดินเผา. ม.ป.ท.: 2541.
11. สุภัทรา สุขเกษม, และคณะ. รายงานการศึกษาเรื่องภาวะความผิดปกติของกระดูก และกล้ามเนื้อในกลุ่มคนงานในโรงงานเผาอิฐ และกระถางต้นไม้จังหวัดอ่างทอง. ม.ป.ท.: 2547.
12. เพ็ญจันทร์ สิทธิปรีชาชาญ. ผลของการประยุกต์ทฤษฎีการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมต่อการป้องกันอาการปวดหลังส่วนล่างของคนงานในโรงงานผลิตสุขภัณฑ์ [วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต]. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล; 2548.
13. Mazloum A, Nozad H, KumashiroM. Occupational Low Back Pain among Workers in Some Small-Size Factories in Ardabil, Iran. Ind Health 2006; 44: 135-9.
14. Waddell G, Burton KA.Occupational Health Guidelines for the Management of Low Back Pain at Work: evidence review. Occup Med 2001; 51(2): 124-35.
15. องค์การบริหารส่วนตำบลบางเดื่อ.การจัดทำข้อมูลสถิติเพื่อการพัฒนาองค์การบริหารส่วนตำบภายใต้การจัดทำระบบข้อมูลสถิติระดับท้องถิ่นตำบลบางเดื่อ อำเภอบางปะหัน จังหวัดพระนครศรีอยุธยา. อยุธยา: องค์การบริหารส่วนตำบลบางเดื่อ; 2547.
16. สถานีอนามัยตำบลบางเดื่อ. รายงานการจัดลำดับผู้ป่วยนอกตามกลุ่มสาเหตุป่วยตำบลบางเดื่อ อำเภอบางปะหัน จังหวัดพระนคร ศรีอยุธยา. ม.ป.ท.: 2550. (อัดสำเนา)
17. Polit DF, Hungler BP. Nursing Research: Principles andMethods. 6 th ed. Philadelphia: Lipppincott; 1999.
18. Kuiper IJ, et al. Criteria for Determining the Work Relat edness of Nonspecific Low Back Pain. Amsterdum: Coronel Institute of Occupational Health; 2004.
19. สุรศักดิ์ ศรีสุข, เล็ก ปริวิสุทธิ์, นวลอนงค์ ชัยปิยะพร. ปวดหลัง. พิมพ์ครั้งที่15. กรุงเทพฯ: พิมพ์ดีด; 2547.
20. สุรเกียรติ อาชานานุภาพ. ปวดหลัง: โรคปวดกล้ามเนื้อหลัง. พิมพ์ครั้งที่2. กรุงเทพฯ: โฮลิสติกพับลิชชิ่ง; 2546.
21. สถาบันความปลอดภัยในการทำงาน กรมสวัสดิการ, คุ้มครองแรงงาน กระทรวงแรงงาน. อาการปวดหลังจะป้องกันได้อย่างไร. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพฯ: เรียงสามกราฟฟิคดีไซน์; 2545.