ความรู้ ทัศนคติ พฤติกรรม ระดับการทำงานของโคลีนเอสเทอเรส และกรด 3- ฟีนอกซีเบนโซอิกของผู้ว่าจ้างและผู้รับจ้างฉีดสารเคมีกาจัดศัตรูพืช รวมถึงผู้บริโภค จังหวัดพิษณุโลก
Main Article Content
บทคัดย่อ
การวิจัยเชิงพรรณนา (Descriptive Research) ในครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อเปรียบเทียบระดับการทำงานของโคลีนเอสเทอเรสในเม็ดเลือดแดง (RAChE) และกรด 3-ฟีนอกซีเบนโซอิกในปัสสาวะ (3-PBA) ของ กลุ่มผู้รับจ้างฉีดพ่นสารเคมีกำจัดศัตรูพืชในนาข้าว 30 คน กลุ่มผู้ว่าจ้าง 30 คน และกลุ่มผู้บริโภค 30 คน และศึกษาระดับความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมเกี่ยวกับการป้องกันตนเองจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชของกลุ่มผู้รับจ้างฉีดพ่น ที่อาศัยอยู่ในจังหวัดพิษณุโลก
ผลจากแบบสอบถามตามรายข้อ กลุ่มผู้รับจ้างฉีดพ่นมีความรู้ ทัศนคติ และพฤติกรรมเกี่ยวกับการป้องกันตนเองจากสารเคมีกำจัดศัตรูพืชส่วนใหญ่อยู่ในระดับสูง คิดเป็นร้อยละ 75, 80 และ 62 ตามลำดับ นอกจากนี้ยังพบว่าผู้รับจ้างฉีดพ่นมีระดับของเอนไซม์ RAChE ที่เสี่ยงต่อสุขภาพที่ต่ำกว่าค่าปกติ (3,379.20-5,004.27 U/L) ร้อยละ 16.6 ซึ่งมากกว่าผู้ว่าจ้าง (ร้อยละ 6.67) และไม่พบในผู้บริโภค สอดคล้องกับที่พบระดับ 3-PBA (>LOQ, 5.0 ng/ml) ในกลุ่มผู้รับจ้าง ร้อยละ 13.3 สูงกว่าผู้ว่าจ้าง (ร้อยละ 3.33) และผู้บริโภค (ร้อยละ 3.33) เนื่องจากผลจากแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศชาย (ร้อยละ 51.1) อยู่ในระดับประถมศึกษา (ร้อยละ 66.7) เคยได้รับการอบรม (ร้อยละ 53.3) และเคยได้รับข่าวสารเกี่ยวกับการป้องกันตนเองมาจากสื่อโทรทัศน์มากสุดคิดเป็นร้อยละ 25.0 ซึ่งเป็นการสื่อสารทางเดียว ดังนั้นหน่วยงานที่เกี่ยวต้องให้ความสำคัญในการกำหนดเนื้อหาและเน้นการสื่อสารที่เป็นแบบสองทางแบบมีส่วนร่วม และตรงกับกลุ่มเป้าหมาย สุดท้ายแล้วรูปแบบการให้ความรู้ที่เหมาะสมจะช่วยลดความเสี่ยงจากการสัมผัสสารเคมีกำจัดศัตรูพืชที่ในกลุ่มผู้รับจ้างฉีดพ่นสารเคมีกำจัดศัตรูพืชได้
Article Details
Journal of Safety and Health is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International (CC BY-NC-ND 4.0) licence, unless otherwise stated.
References
ณัฐพร ปลื้มจันทร์ และณิชชาภัทร. (2559). ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์กับระดับเอนไซม์โคลีนเอสเทอเรสใน เลือดของเกษตรกรในตาบลเกาะจันทร์ อาเภอเกาะจันทร์ จังหวัดชลบุรี. วารสารพิษ
วิทยาไทย. 30(2), 128-141.
วินัย วนานุกูล. (2550). Poision and Drug Information Bulletin [จุลสาร]. กรุงเทพฯ: คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล.
ศรัทธา ศรีทิพงศ์ และทวีสิน แสงเงิน. (2553). ข้อมูลพื้นฐานด้านการเกษตรจังหวัดพิษณุโลก ประจำปี 2553 [จุลสาร] ค้นเมื่อวันที่ 1 มิถุนายน 2559 จาก
http://chmthai.onep.go.th/chm/data_province/Phitsanulok/doc
ไสว ชัยประโคม. (2559). เส้นทางการเข้าสู่อาชีพและความเสี่ยงอันตรายของคนรับจ้างฉีดพ่นยาฆ่าหญ้า พื้นที่ตำบลหนองแวง อำเภอบ้านผือ จังหวัดอุดรธานี. วารสารการพัฒนาสุขภาพชุมชน.
4(2), 269-290.
Bandura, A. (1986). Social foundations of thought and action: A social cognitive theory. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall.
Becker, M.H. & Maiman, L.A. (1975). Sociobehavioural determinants of compliance with medical care recommendations. Medical Care, 1(13), 10-24.
Best, J.W. (1977). Research in education (3rded.). New Jersey: Prentice-Hall.
Bloom, B.S. (1976). Human characteristics and school learning. New York: Mcgraw-hill.
Cronbach L.J. (1978). Citation classics. Current Contents, 13, 263.
Hongsibsong, S., Sittitoon, N. & Sapbamrer, R. (2017). Association of health symptoms with low-level exposure to organophosphates, DNA damage, RAChE
activity, and occupational knowledge and practice among rice, corn, and double-crop farmers. The Journal of Occupational Health. 59, 165-176.
Muñoz-Quezada, M.T., et al. (2013). Neurodevelopmental effects in children associated with exposure to organophosphate pesticides. A systematic review. Neuro
Toxicology, 39, 158-168.
Nassar, A.M.K. (2015). Acethylcholinesterase: a universal toxicity biomarker. Journal of Agriculture and Environmental Sciences, 14(1), 1-14.
Pakvilai, N. (2011). Exposure assessment of synthetic pyrethroid insecticides among school children from an agricultural community (Doctoral dissertation).
Chiangmai: Chiangmai University.
Poapongsakorn, N., Ruhs, M. & Tangjitwisuth, S. (1998). Problems and outlook of agriculture in Thailand. Thailand Development Research Institute, 13, 3–14.
Rendón von, O.J., Epomex, C., Tinoco-Ojanguren, R., Soares ,A.M. & Guilhermino, L. (2004). Effect of pesticide exposure on acetylcholinesterase activity in
subsistence farmers from Campeche, Mexico. Archives of Environmental Health An International Journal, 59(8), 418-425.
Rother, H.A. (2011). Challenges in pesticide risk communication. School of Public Health and Family Medicine, 1, 566-575.
Rovinelli, R.J. & Hambleton, R.K. (1977). On the use of content specialists in the assessment of criterion-referenced test item validity. Dutch Journal of Educational
Research, 2, 49-60.
Shan, G., Huang, H., Stoutamire, D.W., Gee, S.J., Leng, G. & Hammock, B.D. (2004). A sensitive class specific immunoassay for the detection of pyrethroid
metabolites in human urine. Chemical Research in Toxicology, 17, 218–225.
Thiphom, S., et al. (2012). An enzyme-linked immunosorbent assay for detecting 3- phenoxybenzoic acid in plasma and its application in farmers and consumers.
Analytical Methods, 4(11), 3772-3778.
Thiphom, S., Prapamontol, T., Chantara, S., Mangklabruksd, A. & Suphavilaib, C. (2013). A method for measuring cholinesterase activity in human saliva and its
application to farmers and consumers. Analytical Methods, 5, 4687-4693.
Yuantari, M.G., Van G.C.A., Van S.N.M., Widianarko, B., Sunoko, H.R. & Shobib, M.N. (2015). Knowledge, attitude, and practice of Indonesian farmers regarding
the use of personal protective equipment against pesticide exposure. Environmental Monitoring and Assessment, 187(3), 142.